รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตขอนแก่น คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชา นิติศาสตร์ หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๐๐๐ ๒๖๐ กฎหมายเกี่ยวกับพระสงฆ์ (Thai Sangha Administration) ๒. จำนวนหน่วยกิต ๒ หน่วยกิต (๒-๐-๔) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา พุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาเฉพาะ/วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา/ข. กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาทั่วไป ๔. อาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตร, อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. อาจารย์ผู้สอน พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์, ป.ธ.๙ ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑ / ชั้นปีที่ ๒ ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ๐๐๐ ๑๕๘ ประวัติพระพุทธศาสนา (History of Buddhism) ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ๐๐๐ ๑๔๔ วรรณคดีบาลี (Pali Literature) ๐๐๐ ๒๖๓ งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา (Research and Literary Works on Buddhism) ๘. ทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ไม่ได้กำหนดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชานี้ ๙. สถานที่เรียน ห้อง ๓๑๒-๓๑๓ ชั้น ๓ อาคารเรียน ๑๐๐ ปี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ๑๐. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา - มุ่งให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารและการปกครองคณะสงฆ์ในยุคต่างๆ - มุ่งให้นิสิตสามารถอธิบายการนำการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันไปใช้กับการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มุ่งให้นิสิตสามารถวิเคราะห์พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการบริหารได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแก้ไขปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ - มุ่งส่งเสริมและเผยแผ่การจัดองค์กร และการพัฒนาบุคลากรในสถาบันสงฆ์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่พึงประสงค์ - มุ่งให้นิสิตสามารถนำหลักคุณธรรมและจริยธรรมประยุกต์หลักการปกครอง การบริหารจัดการ องค์กรคณะสงฆ์ไปปลูกฝังสู่ความเป็นนักปกครองที่ดีได้ ๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นิสิตมีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการปกครองและการบริหารที่ได้มีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๑. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาพัฒนาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบันศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆ กฎ ระเบียบ คำสั่งและประกาศที่สำคัญของคณะสงฆ์ การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันสำหรับคณะสงฆ์ไทย ๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย ๓๒ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา สอนเสริมตามความต้องการของนิสิตเฉพาะราย ไม่มีการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม การศึกษาด้วยตนเอง ๔ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจำวิชาหรืออาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาผ่านโปรแกรมโทรศัพท์มือถือ (Line, Messenger, Facebook) - มุมแนะแนว ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ชั้น ๑ - อาจารย์ประจำวิชาหรืออาจารย์ผู้สอน จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา ๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. ณ ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ชั้น ๑ (เฉพาะรายที่ต้องการ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต ๔.๑ การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเรื่องการสำรวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือการแต่งกาย การเข้าสังคมและศาสนพิธี เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และในกิจกรรมปัจฉิมนิเทศก่อนที่นิสิตจะสำเร็จการศึกษา ด้านภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบตลอดจนวินัยในตนเอง - กำหนดให้มีรายวิชาซึ่งนิสิตต้องทำงานเป็นกลุ่มและมีการกาหนดหัวหน้ากลุ่มในการทำรายงานตลอดจน กำหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอรายงานเพื่อเป็นการฝึกให้นิสิตได้สร้างภาวะผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี - มีกิจกรรมนิสิตที่มอบหมายให้นิสิตหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดำเนินกิจกรรมเพื่อฝึกให้นิสิตมีความรับผิดชอบ - มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น ทักษะ IT การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน กำหนดให้นิสิตนาเสนอรายงานโดยใช้ Power Point หรือการตัดต่อ VDO สั้นๆ ๕-๗ นาที นำเสนอหน้าชั้นและโพสต์ลงใน You Tube หรือ Facebook เพื่อเพิ่มทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิเคราะห์ประมวลผลทางสถิติ จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการให้ความรู้แก่นิสิตในการนำเอาความรู้ทางด้านปรัชญาไปใช้ในการทำงานที่จะทาให้นิสิตอยู่ร่วมกับคนอื่นและคนในสังคมได้ ๔.๒ การพัฒนาการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (จาก มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)) ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓                     ๔.๒.๑ คุณธรรม จริยธรรม ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบหลัก ๑. มีศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต ๒. มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม ๕. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมชาติศาสนา ความรับผิดชอบรอง ๓. เคารพสิทธิ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ๔. เห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑) บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทย ๒) อภิปรายกลุ่ม ๓) กำหนดให้นิสิตหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง ๔) บทบาทสมมติ ๑) การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเนื้อหาที่มอบให้และตรงเวลา ๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓) ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ๔.๒.๒ ความรู้ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ความรับผิดชอบหลัก ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และเนื้อหา ๓. สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ความรับผิดชอบรอง ๒. ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล ๔. มีความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทั้งของไทยและของโลก ๕. รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๑) บรรยาย อภิปราย ๒) การทำงานกลุ่มหรือการทำงานและนำเสนอใบงานเดี่ยว ๓) การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามเนื้อหาของแต่ละบทโดยสรุปและนำเสนอเป็นใบงาน ๔) เน้นการศึกษาโดยใช้บททดสอบ ๕) เน้นการศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน (Problem base learning) ๖) เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ (Student Center) ๑) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นทั้งด้านศักยภาพและสมรรถภาพ ๒) สมุดบันทึก ๓) รายงาน/ใบงาน ๔) การสังเกตพฤติกรรม ๕) ประเมินการนำเสนอสรุปการศึกษาค้นคว้าข้อมูล ๔.๒.๓ ทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ความรับผิดชอบหลัก ๑. สามารถค้นหาข้อมูลทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลจากหลักฐาน ๓. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ความรับผิดชอบรอง ๒. สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล ๑) การบรรยาย/อภิปรายเชิงวิชาการ ๒) การมอบหมายงานให้นิสิตศึกษาค้นคว้าข้อมูลและนำเสนอผลการศึกษา ๓) การให้นิสิตศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย จนเกิดทักษะสามารถนำไปถ่ายทอดได้ ๔) การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ ๑) ประเมินจากผลงานและการของผู้เรียนที่เกิดจากการใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ และนำเสนออย่างเป็นระบบ ๒) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่แสดงถึงทักษะทางปัญญาเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย ๔.๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบหลัก ๒. เป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม ๓. มีมนุษยสัมพันธ์รู้จักควบคุมอารมณ์และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบรอง ๑. สามารถทำงานเป็นทีม ๔. รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๑) จัดกิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียนหรือห้องสมุด เพื่อการศึกษาค้นคว้าข้อมูล ๒) มอบหมายงานเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา ๓) การนำเสนอหรือส่งใบงาน/รายงานที่ได้ศึกษาค้นคว้า ๑) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ๒) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ๓) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง ๔) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค ๔.๒.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรับผิดชอบหลัก ๑. ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้ ความรับผิดชอบรอง ๒. ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน ๓. มีทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ๑) อภิปราย ๒) มอบหมายงานให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning ๓) ทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ๔) นำเสนอ/ส่งใบงานหรือรายงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ๑) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ๒) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน อาทิเช่น การอภิปรายและวิธีการอภิปราย หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ๑ - แนะนำรายวิชาและแผนการสอน ชี้แจงแนวสังเขปและรายละเอียดประจำวิชา เกณฑ์การศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัย, การวัดผลและประเมินผล - เกริ่นนำรายละเอียดเนื้อหาสาระในแต่ละบทเรียนทั้ง ๗ บท เกี่ยวกับรายวิชาการปกครองคณะสงฆ์ไทย ๒ - แนะนำ ชี้แจง อธิบายรายวิชา แผนการสอน และเอกสารประกอบการเรียนการสอน - แนะนำวัตถุประสงค์ประจำบท - แนะวิธีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ หรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลการทำเอกสารสำหรับการนำเสนอ -การบรรยายประกอบสื่อ - การเรียนการสอนแบบ e-Learning - ถาม-ตอบประเด็นที่ศึกษาในห้องเรียน พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๒ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย ๑.๑ ความนำ ๑.๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองทั่วไป ๑.๓ การปกครองอาณาจักรกับศาสนจักร สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning - ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๓ บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย (ต่อ) ๑.๔ การปกครองคณะสงฆ์ ๑.๕ ลักษณะการใช้อำนาจในการปกครองคณะสงฆ์ สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning - ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๔ บทที่ ๒ การปกครองคณะสงฆ์สมัยพุทธกาล ๒.๑ ความนำ ๒.๒ รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ๒.๓ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล (พรรษา ๑-๒๐) ๒.๔ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล (หลังพรรษาที่ ๒๐) สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning - ถาม-ตอบประเด็นที่ทำใบงาน - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ ในระบบ e-Learning ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๕ บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลังพุทธกาล ๓.๑ ความนำ ๓.๒ ความหมายของสังคายนา ๓.๓ ความสำคัญของสังคายนา ๓.๔ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ๓.๕ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning - ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๖ บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลังพุทธกาล (ต่อ) ๓.๖ การปกครองคณะสงฆ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๒ ๓.๗ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๒ ๓.๘ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ ๓.๙ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๗ บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา ๔.๑ ความนำ ๔.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย ๑) รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย ๒) โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย ๓) เปรียบเทียบโครงสร้างระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักร ๔) ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยสุโขทัย สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๘ บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา (ต่อ) ๔.๓ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา ๑) รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา ๒) โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา ๓) ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยอยุธยา สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๙ สอบกลางภาค ๒ สอบในระบบ e-Learning แบบอัตนัย ๑๐ บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔) ๕.๑ ความนำ ๕.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี ๕.๓ รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี ๕.๔ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี ๕.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยธนบุรี สรุปท้ายหัวข้อ คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๑ บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔) (ต่อ) ๕.๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔) ๕.๖.๑ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงแรก (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๔๔๔) ๕.๖.๒ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๒ ๕.๖.๓ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๓ สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ทดสอบย่อยครั้งที่ ๒ ในระบบ e-Learning ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๒ บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน ๖.๑ ความนำ ๖.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน ๖.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักร สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๓ บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน (ต่อ) ๖.๔ ปัญหาที่สำคัญของการปกครองคณะสงฆ์ไทย ๖.๕ แนวทางการประยุกต์ใช้หลักการปกครองเพื่อแก้ปัญหาการปกครองคณะสงฆ์ไทย สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๔ บทที่ ๗ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต ๗.๑ ความนำ ๗.๒ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ในปริบทคณะสงฆ์ ๗.๓ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๔๔๕) ๗.๔ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ (ฉบับที่ ๒) ๗.๕ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ (ฉบับที่ ๓) ๗.๖ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๕ บทที่ ๗ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต (ต่อ) ๗.๗ รูปแบบปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต ๗.๘ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต ๗.๙ แนวโน้มความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในอนาคต ๗.๑๐ เปรียบเทียบช่วงเวลาการใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ในอดีต ๗.๑๑ ประโยชน์ของการตราพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ จะมีผลดังนี้ ๗.๑๒ ทิศทางการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม สรุปท้ายบท คำถามท้ายบท ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๖ ประมวล/สรุปองค์ความรู้ประจำรายวิชา ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning -ถาม-ตอบประเด็นประจำบท - อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -กิจกรรมประจำสัปดาห์ - มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท ทดสอบย่อยครั้งที่ ๓ ในระบบ e-Learning พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์ ๑๗ สอบปลายภาค ๒ ๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ที่ มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการประเมินผล สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล ๑ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ข้อ ๑.๑, ๑.๒, ๑.๕ - สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน - ประเมินผลงานจากการทำใบงานเดี่ยวหรือรายงานกลุ่ม/เข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ % ๒ ด้านความรู้ ข้อ ๒.๑, ๒.๓ - การตอบคำถามในชั้นเรียน - การสอบกลางภาค/กิจกรรม ๑-๘, ๑๐-๑๖ ๙ ๑๐ % ๓ ด้านทักษะทางปัญญา ข้อ ๓.๑, ๓.๓ การสอบปรนัย ปลายภาค ๑๗ ๖๐ % ๔ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ข้อ ๔.๒, ๔.๓ - การสังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่มร่วมกับเพื่อน/การมีส่วนร่วม - การนำเสนอรายงาน/อภิปราย เสนอความคิดเห็น - การทำงานกลุ่มหรือใบงานเดี่ยว (อัตนัย/ปรนัย) - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ % ๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อ ๕.๑ - การนำเสนองานหน้าชั้นเรียนหรือใช้สื่อเทคโนโลยีนำเสนองานผ่านสื่อ VDO ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ % หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. เอกสารและตำราหลัก พระครูวิบูลเจติยาทร. การปกครองคณะสงฆ์ไทย. เอกสารประกอบการสอน. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน, ๒๕๔๖. พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗. พระวิสุทธิโสภณ (สำรวม ปิยธมโม). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓. ๒. เอกสารและข้อมูลสำคัญ ไม่มี ๖.๓ เอกสารและข้อมูลแนะนำ กรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๔๒. เฉลิมพล โสมอินทร์. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล, ๒๕๔๙. ไชย ณ พล. การปกครองของพระพุทธเจ้าระบอบธรรมาธิปไตย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, ๒๕๓๗. พระศรีปริยัติโมลี (สมชัย กุสลจิตฺโต). พระสงฆ์กับการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. พีรพล กนกวลัย. คู่มือพระสังฆาธิการ. กรุงเทพฯ :สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๔๘. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย เล่มที่ ๑-เล่มที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย,๒๕๓๙. สัมพันธ์ เสริมชีพ. “คู่มือพระสงฆ์ไทย” เจ้าอาวาสเป็นเจ้าพนักงานหรือไม่. กรุงเทพฯ: ๒๕๔๓. สุรพล สุยะพรหม ดร.. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาบรรณาคาร, ๒๕๔๘. แสวง อุดมศรี. การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓.http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK18/chapter4/t18-4-l1.htm หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ได้รับการประเมินผลจากนิสิต โดยมีผลการประเมินความสอดคล้องตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แยกเป็นรายด้านได้ดังนี้ ๑.๑ ด้านเนื้อหาวิชา ๑) มีการแจ้งให้นิสิตทราบเกี่ยวกับคำอธิบายรายวิชา ขอบข่ายเนื้อหารายวิชา แผนการสอน ๒) การจัดลำดับเนื้อหาเป็นไปอย่างมีระบบและขั้นตอนชัดเจน ๓) ได้รับความรู้ในรายวิชานี้ครบถ้วนตามแผนการสอน ๔) สอนเนื้อหารายวิชาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวันและสถานการณ์ปัจจุบัน ๕) นำเสนอประเด็นใหม่ๆ ที่ทันสมัยในกรอบเนื้อหารายวิชา ๑.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอน ๑) มีการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลายทำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น ๒) ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ๓) ให้ข้อมูลและชี้แนะแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ๔) จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ๕) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีสารประโยชน์ในกิจกรรมการเรียนการสอน ๖) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เสนอความคิดเห็นในการเรียนการสอน ๗) มีการวัดผลและประเมินผลหลายรูปแบบ ๑.๓ ด้านคุณธรรมจริยธรรมของอาจารย์ ๑) มีความเมตตา กรุณา ปราศจากอคติต่อผู้เรียน ๒) มีความอดทนต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้เรียนในขณะทำการเรียนการสอน ๓) ปฏิบัติตนให้เป็นที่เคารพนับถือทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานสอน ๔) มีเวลาให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน ตรงต่อเวลาและอุทิศตนให้กับการสอนเต็มที่ ๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต ๓. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม ๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔ - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/อาจารย์ผู้บรรยาย พ

รายละเอียดของรายวิชา

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา     มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา  วิทยาเขตขอนแก่น

                                 คณะสังคมศาสตร์

สาขาวิชา นิติศาสตร์

หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป

๑. รหัสและชื่อรายวิชา 

๐๐๐ ๒๖๐ กฎหมายเกี่ยวกับพระสงฆ์ (Thai Sangha Administration)

๒. จำนวนหน่วยกิต               

๒ หน่วยกิต  (๒-๐-๔)

๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

พุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาเฉพาะ/วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา/ข. กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาทั่วไป

๔. อาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตร, อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร.

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร.

อาจารย์ผู้สอน พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์, ป.ธ.๙

๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ ๑ / ชั้นปีที่ ๒

๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

๐๐๐ ๑๕๘ ประวัติพระพุทธศาสนา (History of Buddhism)

๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)

๐๐๐ ๑๔๔ วรรณคดีบาลี (Pali Literature)

๐๐๐ ๒๖๓ งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา (Research and Literary Works on Buddhism)

๘. ทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้

ไม่ได้กำหนดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชานี้    

๙. สถานที่เรียน                    

ห้อง ๓๑๒-๓๑๓ ชั้น ๓ อาคารเรียน ๑๐๐ ปี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

๑๐. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑

 

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

- มุ่งให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารและการปกครองคณะสงฆ์ในยุคต่างๆ

- มุ่งให้นิสิตสามารถอธิบายการนำการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันไปใช้กับการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- มุ่งให้นิสิตสามารถวิเคราะห์พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการบริหารได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแก้ไขปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์

- มุ่งส่งเสริมและเผยแผ่การจัดองค์กร และการพัฒนาบุคลากรในสถาบันสงฆ์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่พึงประสงค์

- มุ่งให้นิสิตสามารถนำหลักคุณธรรมและจริยธรรมประยุกต์หลักการปกครอง การบริหารจัดการ องค์กรคณะสงฆ์ไปปลูกฝังสู่ความเป็นนักปกครองที่ดีได้

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการปกครองและการบริหารที่ได้มีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา                                         

ศึกษาพัฒนาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบันศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆ กฎ ระเบียบ คำสั่งและประกาศที่สำคัญของคณะสงฆ์ การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันสำหรับคณะสงฆ์ไทย

๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

บรรยาย ๓๒ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา 

สอนเสริมตามความต้องการของนิสิตเฉพาะราย

ไม่มีการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม

การศึกษาด้วยตนเอง ๔ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 

๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจำวิชาหรืออาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาผ่านโปรแกรมโทรศัพท์มือถือ (Line, Messenger, Facebook)

- มุมแนะแนว ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ชั้น ๑

- อาจารย์ประจำวิชาหรืออาจารย์ผู้สอน จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา ๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. ณ ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ชั้น ๑ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

 

หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต

 

๔.๑ การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต

คุณลักษณะพิเศษ

กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต

ด้านบุคลิกภาพ                          

มีการสอดแทรกเรื่องการสำรวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือการแต่งกาย การเข้าสังคมและศาสนพิธี เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และในกิจกรรมปัจฉิมนิเทศก่อนที่นิสิตจะสำเร็จการศึกษา

ด้านภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบตลอดจนวินัยในตนเอง

- กำหนดให้มีรายวิชาซึ่งนิสิตต้องทำงานเป็นกลุ่มและมีการกาหนดหัวหน้ากลุ่มในการทำรายงานตลอดจน กำหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอรายงานเพื่อเป็นการฝึกให้นิสิตได้สร้างภาวะผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี

- มีกิจกรรมนิสิตที่มอบหมายให้นิสิตหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดำเนินกิจกรรมเพื่อฝึกให้นิสิตมีความรับผิดชอบ

- มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น

ทักษะ IT

การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน กำหนดให้นิสิตนาเสนอรายงานโดยใช้ Power Point หรือการตัดต่อ VDO สั้นๆ ๕-๗ นาที นำเสนอหน้าชั้นและโพสต์ลงใน You Tube หรือ Facebook เพื่อเพิ่มทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิเคราะห์ประมวลผลทางสถิติ

จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

มีการให้ความรู้แก่นิสิตในการนำเอาความรู้ทางด้านปรัชญาไปใช้ในการทำงานที่จะทาให้นิสิตอยู่ร่วมกับคนอื่นและคนในสังคมได้

 

 

๔.๒ การพัฒนาการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (จาก มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐))

. คุณธรรม จริยธรรม

. ความรู้

. ทักษะทางปัญญา

. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

l

l

¡

¡

l

l

¡

l

¡

¡

l

¡

l

¡

l

l

¡

l

¡

¡

๔.๒.๑ คุณธรรม จริยธรรม

ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

ความรับผิดชอบหลัก

๑. มีศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต

๒. มีจิตสาธารณะและเสียสละเพื่อส่วนรวม

๕. ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมชาติศาสนา

ความรับผิดชอบรอง

๓. เคารพสิทธิ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

๔. เห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๑) บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทย

๒) อภิปรายกลุ่ม

๓) กำหนดให้นิสิตหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง

๔) บทบาทสมมติ

๑) การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเนื้อหาที่มอบให้และตรงเวลา

๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม

๓) ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา

๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย

๔.๒.๒ ความรู้

ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้

ความรับผิดชอบหลัก

๑. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี  และเนื้อหา    

๓. สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้

ความรับผิดชอบรอง

๒. ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล

๔. มีความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทั้งของไทยและของโลก

๕. รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

๑) บรรยาย อภิปราย

๒) การทำงานกลุ่มหรือการทำงานและนำเสนอใบงานเดี่ยว 

๓) การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามเนื้อหาของแต่ละบทโดยสรุปและนำเสนอเป็นใบงาน

๔) เน้นการศึกษาโดยใช้บททดสอบ

๕) เน้นการศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน (Problem base learning)

๖) เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ (Student Center)

๑) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นทั้งด้านศักยภาพและสมรรถภาพ

๒) สมุดบันทึก

๓) รายงาน/ใบงาน

๔) การสังเกตพฤติกรรม

๕) ประเมินการนำเสนอสรุปการศึกษาค้นคว้าข้อมูล

๔.๒.๓ ทักษะทางปัญญา

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา

ความรับผิดชอบหลัก

๑. สามารถค้นหาข้อมูลทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลจากหลักฐาน

๓. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

ความรับผิดชอบรอง

๒. สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล

๑) การบรรยาย/อภิปรายเชิงวิชาการ

๒) การมอบหมายงานให้นิสิตศึกษาค้นคว้าข้อมูลและนำเสนอผลการศึกษา

๓) การให้นิสิตศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย จนเกิดทักษะสามารถนำไปถ่ายทอดได้

๔) การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ

๑) ประเมินจากผลงานและการของผู้เรียนที่เกิดจากการใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ และนำเสนออย่างเป็นระบบ

๒) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่แสดงถึงทักษะทางปัญญาเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย

          ๔.๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ความรับผิดชอบหลัก

๒. เป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม

๓. มีมนุษยสัมพันธ์รู้จักควบคุมอารมณ์และยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล

ความรับผิดชอบรอง

๑. สามารถทำงานเป็นทีม

๔. รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  

๑) จัดกิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียนหรือห้องสมุด เพื่อการศึกษาค้นคว้าข้อมูล

๒) มอบหมายงานเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา

๓) การนำเสนอหรือส่งใบงาน/รายงานที่ได้ศึกษาค้นคว้า

๑) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด

๒) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม

๓) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง

๔) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

 

๔.๒.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรับผิดชอบหลัก

๑. ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขได้

ความรับผิดชอบรอง

๒. ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน

๓. มีทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม

๑) อภิปราย     

๒) มอบหมายงานให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning

๓) ทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

๔) นำเสนอ/ส่งใบงานหรือรายงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

๑) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

๒) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน อาทิเช่น การอภิปรายและวิธีการอภิปราย

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์

ที่

 

หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)

 

ผู้สอน

 

- แนะนำรายวิชาและแผนการสอน ชี้แจงแนวสังเขปและรายละเอียดประจำวิชา เกณฑ์การศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัย, การวัดผลและประเมินผล

- เกริ่นนำรายละเอียดเนื้อหาสาระในแต่ละบทเรียนทั้ง ๗ บท เกี่ยวกับรายวิชาการปกครองคณะสงฆ์ไทย

- แนะนำ ชี้แจง อธิบายรายวิชา แผนการสอน และเอกสารประกอบการเรียนการสอน

- แนะนำวัตถุประสงค์ประจำบท

- แนะวิธีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ หรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลการทำเอกสารสำหรับการนำเสนอ

-การบรรยายประกอบสื่อ

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

- ถาม-ตอบประเด็นที่ศึกษาในห้องเรียน

พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

 

 

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย

๑.๑ ความนำ

๑.๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองทั่วไป

๑.๓ การปกครองอาณาจักรกับศาสนจักร

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท  

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

- ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ไทย (ต่อ)

๑.๔ การปกครองคณะสงฆ์

๑.๕ ลักษณะการใช้อำนาจในการปกครองคณะสงฆ์

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท  

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

- ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

บทที่ ๒ การปกครองคณะสงฆ์สมัยพุทธกาล

๒.๑ ความนำ

๒.๒ รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๑

๒.๓ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล (พรรษา ๑-๒๐)

๒.๔ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล (หลังพรรษาที่ ๒๐)

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท  

- บรรยาย  ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

- ถาม-ตอบประเด็นที่ทำใบงาน

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

 

ทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ ในระบบ e-Learning

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

 

บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลังพุทธกาล

๓.๑ ความนำ

๓.๒ ความหมายของสังคายนา

๓.๓ ความสำคัญของสังคายนา

๓.๔ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๑

๓.๕ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๑

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

- ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลังพุทธกาล (ต่อ)

๓.๖ การปกครองคณะสงฆ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๒

๓.๗ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๒

๓.๘ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทำสังคายนาครั้งที่ ๓

๓.๙ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๓

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา

๔.๑ ความนำ

๔.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย

๑) รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย

๒) โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย

๓) เปรียบเทียบโครงสร้างระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักร

๔) ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยสุโขทัย

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยา (ต่อ)

๔.๓ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา

๑) รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา

๒) โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยอยุธยา

๓) ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยอยุธยา

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

สอบกลางภาค

สอบในระบบ e-Learning แบบอัตนัย

 

๑๐

บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔)

๕.๑ ความนำ

๕.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี

๕.๓ รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี

๕.๔ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี

๕.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยธนบุรี

สรุปท้ายหัวข้อ

คำถามท้ายบท  

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๑

บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔) (ต่อ)

๕.๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔)

๕.๖.๑ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ช่วงแรก (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๔๔๔)

๕.๖.๒ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๒

๕.๖.๓ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๓

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

 

ทดสอบย่อยครั้งที่ ๒ ในระบบ e-Learning

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๒

บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน

๖.๑ ความนำ

๖.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน

๖.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักร

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๓

 

บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยปัจจุบัน (ต่อ)

๖.๔ ปัญหาที่สำคัญของการปกครองคณะสงฆ์ไทย

๖.๕ แนวทางการประยุกต์ใช้หลักการปกครองเพื่อแก้ปัญหาการปกครองคณะสงฆ์ไทย

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๔

บทที่ ๗ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต

๗.๑ ความนำ

๗.๒ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ในปริบทคณะสงฆ์

๗.๓ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๔๔๕)

๗.๔ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ (ฉบับที่ ๒)

๗.๕ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ (ฉบับที่ ๓)

๗.๖ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๕

บทที่ ๗ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต (ต่อ)

๗.๗ รูปแบบปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต

๗.๘ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอนาคต

๗.๙ แนวโน้มความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรในอนาคต

๗.๑๐ เปรียบเทียบช่วงเวลาการใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ในอดีต

๗.๑๑ ประโยชน์ของการตราพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ จะมีผลดังนี้

๗.๑๒ ทิศทางการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม

สรุปท้ายบท     

คำถามท้ายบท

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๖

ประมวล/สรุปองค์ความรู้ประจำรายวิชา

- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายจากกรณีศึกษา

- การเรียนการสอนแบบ e-Learning

-ถาม-ตอบประเด็นประจำบท

- อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

-กิจกรรมประจำสัปดาห์

- มอบหมายงานค้นคว้าและฝึกปฏิบัติทำใบงานส่งตามวัตถุประสงค์ประจำบท

 

ทดสอบย่อยครั้งที่ ๓ ในระบบ e-Learning

พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

๑๗

สอบปลายภาค

 

 

 

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ที่

มาตรฐานการเรียนรู้

วิธีการประเมินผล

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการประเมินผล

ด้านคุณธรรมจริยธรรม

ข้อ ๑.๑, ๑.๒, ๑.๕

 - สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน

- ประเมินผลงานจากการทำใบงานเดี่ยวหรือรายงานกลุ่ม/เข้าชั้นเรียน

ตลอดภาคการศึกษา

๑๐ %

ด้านความรู้

ข้อ ๒.๑, ๒.๓

- การตอบคำถามในชั้นเรียน

- การสอบกลางภาค/กิจกรรม

๑-๘, ๑๐-๑๖

๑๐ %

ด้านทักษะทางปัญญา

ข้อ ๓.๑, ๓.๓

การสอบปรนัย ปลายภาค

๑๗

๖๐ %

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ข้อ ๔.๒, ๔.๓

- การสังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่มร่วมกับเพื่อน/การมีส่วนร่วม

- การนำเสนอรายงาน/อภิปราย เสนอความคิดเห็น

- การทำงานกลุ่มหรือใบงานเดี่ยว (อัตนัย/ปรนัย)

- การส่งงานตามที่มอบหมาย

ตลอดภาคการศึกษา

๑๐ %

ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อ ๕.๑

- การนำเสนองานหน้าชั้นเรียนหรือใช้สื่อเทคโนโลยีนำเสนองานผ่านสื่อ VDO

ตลอดภาคการศึกษา

๑๐ %

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. เอกสารและตำราหลัก

พระครูวิบูลเจติยาทร. การปกครองคณะสงฆ์ไทย. เอกสารประกอบการสอน. วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน, ๒๕๔๖.

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร  ธมฺมจิตฺโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗.

พระวิสุทธิโสภณ (สำรวม ปิยธมโม). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

๒. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

ไม่มี

๖.๓ เอกสารและข้อมูลแนะนำ

กรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๔๒.

เฉลิมพล  โสมอินทร์. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและการปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล, ๒๕๔๙.

ไชย  ณ พล. การปกครองของพระพุทธเจ้าระบอบธรรมาธิปไตย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, ๒๕๓๗.

พระศรีปริยัติโมลี (สมชัย กุสลจิตฺโต). พระสงฆ์กับการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ ๒.  กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

พีรพล  กนกวลัย. คู่มือพระสังฆาธิการ.  กรุงเทพฯ :สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๔๘.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทย  ฉบับมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย เล่มที่ ๑-เล่มที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย,๒๕๓๙.

สัมพันธ์  เสริมชีพ. “คู่มือพระสงฆ์ไทย” เจ้าอาวาสเป็นเจ้าพนักงานหรือไม่. กรุงเทพฯ: ๒๕๔๓.

สุรพล  สุยะพรหม ดร.. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาบรรณาคาร, ๒๕๔๘.

แสวง  อุดมศรี. การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓.http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK18/chapter4/t18-4-l1.htm

 

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต

     การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ได้รับการประเมินผลจากนิสิต โดยมีผลการประเมินความสอดคล้องตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แยกเป็นรายด้านได้ดังนี้

          ๑.๑ ด้านเนื้อหาวิชา

     ๑) มีการแจ้งให้นิสิตทราบเกี่ยวกับคำอธิบายรายวิชา ขอบข่ายเนื้อหารายวิชา แผนการสอน

     ๒) การจัดลำดับเนื้อหาเป็นไปอย่างมีระบบและขั้นตอนชัดเจน

     ๓) ได้รับความรู้ในรายวิชานี้ครบถ้วนตามแผนการสอน

     ๔) สอนเนื้อหารายวิชาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวันและสถานการณ์ปัจจุบัน

               ๕) นำเสนอประเด็นใหม่ๆ ที่ทันสมัยในกรอบเนื้อหารายวิชา

          ๑.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอน

    ๑) มีการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลายทำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น

    ๒) ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล

    ๓) ให้ข้อมูลและชี้แนะแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม

    ๔) จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน

    ๕) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีสารประโยชน์ในกิจกรรมการเรียนการสอน

    ๖) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เสนอความคิดเห็นในการเรียนการสอน

              ๗) มีการวัดผลและประเมินผลหลายรูปแบบ

          ๑.๓ ด้านคุณธรรมจริยธรรมของอาจารย์

   ๑) มีความเมตตา กรุณา ปราศจากอคติต่อผู้เรียน

   ๒) มีความอดทนต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้เรียนในขณะทำการเรียนการสอน

   ๓) ปฏิบัติตนให้เป็นที่เคารพนับถือทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานสอน

              ๔) มีเวลาให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน ตรงต่อเวลาและอุทิศตนให้กับการสอนเต็มที่

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน

     ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

          - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน

          - ผลการสอบ

          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

          - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต

๓. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

          - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา

     ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

     จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

          - ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔

          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ

 

ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/อาจารย์ผู้บรรยาย 

 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

https://www.google.com/imgres?imgurl=http%3A%2F%2Fwww.luangtanarongsak.org%2Fhome%2Fimages%2Fdm-info-63%2FDM-INF-40.jpg&imgrefurl=http%3A%2F%2Fwww.luangtanarongsak.org%2Fhome%2Findex.php%2F2017-10-14-13-20-39%2F2020-02-06-08-06-17%2Fitem%2F5892-08-aug28-63-dama-info-40&tbnid=F7P_hi3CPvv6DM&vet=12ahUKEwjr5ovOh5bwAhUBsksFHfiaAFkQMygMegUIARCXAQ..i&docid=xa7S-l5tpSrtEM&w=1152&h=1536&q=%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B0&ved=2ahUKEwjr5ovOh5bwAhUBsksFHfiaAFkQMygMegUIARCXAQ