1.(รูปนิมิต) 1.รูป คือ สี เกิด พร้อมกับจิตเห็น ทางทวารตา แล้ว ดับไป รูป คือ สี ที่ ดับไปทางทวารตา ปรากฏ เป็น รูปนิมิตของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร) อันนี้รู้ด้วย ปัญญา ที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย) 2.รูป คือ เสียง เกิดพร้อมกับจิตได้ยินเสียง ทางทวารหู แล้ว ดับไปทางทวารหู ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร) อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย) 3.รูป คือ กลิ่น เกิดพร้อมกับจิตได้กลิ่น ทางทวารจมูก แล้ว ดับไปทางทวารจมูก ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร) อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย) 4.รูป คือ รส เกิดพร้อมกับจิตลิ้มรส ทางทวารลิ้นแล้วดับไปทางทวารลิ้น ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) อันนี้ รู้ ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนา (ในฐานกาย) 5.รูป คือ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว รูปเหล่านี้ เกิดพร้อมกับจิตรู้โผฏทัพพ ทางทวารกาย ทีละ1ลักษณะ แล้วดับไปทางทวารกาย ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) อันนี้ รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานกาย) หมายเหตุ "รูป คือ สี เสียง กลิ่น รส เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว เป็น รูปขันธ์ภายนอก รูปเหล่านี้ ไม่รู้ อะไรเลย ปรากฏ ในฐานกาย และ ปสาทรูป5เป็น รูปขันธ์ภายใน ก็ไม่รู้อะไรเช่นกัน เกิดในกายนี้ เป็น รูปธรรม ส่วน ธาตุรู้ คือ จิตและเจตสิก ที่เป็นธาตุรู้ เกิดทาง5ทวารนี้ 2 (เวทนา นิมิต) เวทนา มี 5ลักษณะ 1.สุขเวทนาทางกาย 2.ทุกขเวทนาทางกาย 3.สุขเวทนาทางใจ 4.ทุขเวทนาทางใจ 5.อทุกขมสุขเวทนา(เฉยๆ) "เวทนา นิมิต พิจารณาอย่างนี้ "ลักษณะ เวทนา จะเกิดดับ ปรากฏ ลักษณะ เป็น นิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ จะรู้ ลักษณะ เวทนานิมิต ที่ ปรากฏ มี ลักษณะ อาการ เป็นอย่างไร ในแต่ละ1ที่ ปรากฏ อันนี้รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ (ในฐานเวทนา) 3.(สัญญา นิมิติ) "สัญญา เป็น เจตสิก ที่เกิดร่วมกับจิตทุกดวง กระทำกิจ(จำ)"การที่ จะรู้ว่า(จำ)ใน ลักษณะ ที่ปรากฏ ว่าเป็น อะไร สัญญาที่(จำ)นั้นเกิดดับแล้ว ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) จึงรู้ว่า นิมิตที่สัญญา(จำ)นั้นเป็น อะไรที่ ปรากฏ ที่จำว่าเป็น สิ่งหนึ่ง สิ่งใด นั่นคือ สัญญานิมิต อันนี้รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐาน ใน วิปัสสนาญาณ(ในฐานธรรมมารมณ์) 4.(สังขาร นิมิต) สังขาร ใน ขันธ์5"คือ เจตสิก50ลักษณะ ขอยกตัวอย่าง เช่น โกรธ อิจฉา สติ สมาธิ เอกัคคตา เจตนา พยาบาท ฯลฯที่เป็นอาการของจิตนั่นคือเจตสิก เจตสิก50ลักษณะ เป็นตัวปรุงแต่งจิตเป็นไปในแต่ละ ลักษณะ (สังขารนิมิต) คือ เจตสิก ที่เป็น สังขารนี้ปรุงแต่งจิตเกิดดับในแต่ละลักษณะ ปรากฏ เป็น สังขารนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จึงมีนิมิตเครื่องหมายในอาการของจิตนั้นที่เจตสิกที่เป็นสังขารปรุงแต่ง อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานธรรมมารมณ์) 5.(วิญญาณ นิมิต) "วิญญาณ คือ จิต ที่เกิดทาง6ทวาร 1.จักขุวิญญาณ คือ จิตเห็นเกิดทางทวารตา 2.โสตวิญญาณ คือ จิตได้ยินเกิดทางทวารหู 3.ฆานะวิญญาณ คือ จิตได้กลิ่น เกิดทางทวารจมูก 4 .ชิวหาวิญญาณ คือ จิตลิ้มรส เกิดทางทวารลิ้น 5กายวิญญาณคือจิตรู้โผฏทัพพที่กระทบทางทวารกาย 6.มโนวิญญาณ คือ จิตรู้ธรรมารมณ์ เกิดทางทวารใจ การที่ รู้ว่าเป็น วิญญาณนิมิต จิตหรือวิญญาณ(ที่เกิดรู้อารมณ์ ทางทวารนั้น ต้องดับไปก่อน เป็น นิมิต ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จึงรู้ว่า เป็น วิญญาณนิมิตของ จิตเห็น จิตได้ยิน จิตได้กลิ่น จิตลิ้มรส จิตรู้โผฏทัพพ จิตคิดนึก ถ้าไม่มี วิญญาณนิมิต ที่ ปรากฏ ทางทวารนั้นๆ สิ่งที่ ปรากฏ ทางทวารนั้นๆไม่มี อันนี้ รู้ด้วยปัญญาในการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานจิต) หมายเหตุ หากแม้นว่า ปัญญาไม่เกิดจากการเจริญในสติปัฏฐาน4เกิดวิปัสสนาญาณ จะไม่รู้ รูปนิมิต เวทนานิมิต สัญญานิมิต สังขารนิมิต วิญญาณนิมิต ที่ ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จิตที่เกิดสืบต่อจะเกิด อุปาทานยึดในขันธ์5ที่ เป็น นิมิต ปรากฏ จึงเป็น เหตุเกิดของ (อุปาทานขันธ์5) ส่วน ปัญญา ที่เกิดจากการเจริญในสติปัฏฐาน4เกิดวิปัสสนาญาณ รู้ว่า รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ทาง6ทวารในขณะนี้เป็น นิมิต เครื่องหมายของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ ปัญญาที่เกิดรู้จากวิปัสสนาจะไม่เข้าไปยึด รูป นาม ขันธ์5ที่เกิดดับไป เป็น นิมิต ปรากฏ ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) อุปาทานขันธ์5ไม่เกิด ถ้า ไม่มี นิมิต ของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ทาง6ทวารในขณะนี้ จะมีแต่ความ ว่างเปล่า กับจิตที่เกิดสืบต่อ แต่เพราะมี นิมิต เครื่องหมายของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ในทาง6ทวารขณะนี้ จึงมี นิมิต ของ สิ่งหนึ่ง สิ่งใด ที่ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) ค่อยๆตรึกตาม ช้าๆ ช้าๆ แต่ละคำ ไม่ต้องรีบร้อน สงสัยในธรรมตรงไหนก็ถามได้ครับ แต่การสนทนาธรรมจะมีเครื่องปิดกั้นปัญญา คือ มานะ ตัณหา ทิฏฐิ อันนี้เวลาสนทนาธรรมสอบถามธรรม ระวัง ปปัญจธรรมนี้เกิดด้วย นี้คือการเจริญสติปัฏฐาน4เป็นทางไปสู่ความเป็นอริยชนผู้เจริญแล้วในพระพุทธศาสนานี้
1.(รูปนิมิต)
1.รูป คือ สี เกิด พร้อมกับจิตเห็น ทางทวารตา แล้ว ดับไป รูป คือ สี ที่ ดับไปทางทวารตา ปรากฏ เป็น รูปนิมิตของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร)
อันนี้รู้ด้วย ปัญญา ที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย)
2.รูป คือ เสียง เกิดพร้อมกับจิตได้ยินเสียง ทางทวารหู แล้ว ดับไปทางทวารหู ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร)
อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย)
3.รูป คือ กลิ่น เกิดพร้อมกับจิตได้กลิ่น ทางทวารจมูก แล้ว ดับไปทางทวารจมูก ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของ จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโมทวาร)
อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานใน วิปัสสนาญาณ (ในฐานกาย)
4.รูป คือ รส เกิดพร้อมกับจิตลิ้มรส ทางทวารลิ้นแล้วดับไปทางทวารลิ้น ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)
อันนี้ รู้ ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนา (ในฐานกาย)
5.รูป คือ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว รูปเหล่านี้ เกิดพร้อมกับจิตรู้โผฏทัพพ ทางทวารกาย ทีละ1ลักษณะ แล้วดับไปทางทวารกาย ปรากฏ เป็น รูปนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)
อันนี้ รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานกาย)
หมายเหตุ
"รูป คือ สี เสียง กลิ่น รส เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึง ไหว เป็น รูปขันธ์ภายนอก รูปเหล่านี้ ไม่รู้ อะไรเลย ปรากฏ ในฐานกาย และ ปสาทรูป5เป็น รูปขันธ์ภายใน ก็ไม่รู้อะไรเช่นกัน เกิดในกายนี้ เป็น รูปธรรม ส่วน ธาตุรู้ คือ จิตและเจตสิก ที่เป็นธาตุรู้ เกิดทาง5ทวารนี้
2 (เวทนา นิมิต)
เวทนา มี 5ลักษณะ
1.สุขเวทนาทางกาย
2.ทุกขเวทนาทางกาย
3.สุขเวทนาทางใจ
4.ทุขเวทนาทางใจ
5.อทุกขมสุขเวทนา(เฉยๆ)
"เวทนา นิมิต พิจารณาอย่างนี้
"ลักษณะ เวทนา จะเกิดดับ ปรากฏ ลักษณะ เป็น นิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ จะรู้ ลักษณะ เวทนานิมิต ที่ ปรากฏ มี ลักษณะ อาการ เป็นอย่างไร ในแต่ละ1ที่ ปรากฏ อันนี้รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ (ในฐานเวทนา)
3.(สัญญา นิมิติ)
"สัญญา เป็น เจตสิก ที่เกิดร่วมกับจิตทุกดวง กระทำกิจ(จำ)"การที่ จะรู้ว่า(จำ)ใน ลักษณะ ที่ปรากฏ ว่าเป็น อะไร สัญญาที่(จำ)นั้นเกิดดับแล้ว ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) จึงรู้ว่า นิมิตที่สัญญา(จำ)นั้นเป็น อะไรที่ ปรากฏ ที่จำว่าเป็น สิ่งหนึ่ง สิ่งใด นั่นคือ สัญญานิมิต
อันนี้รู้ด้วยปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐาน ใน วิปัสสนาญาณ(ในฐานธรรมมารมณ์)
4.(สังขาร นิมิต)
สังขาร ใน ขันธ์5"คือ เจตสิก50ลักษณะ
ขอยกตัวอย่าง เช่น โกรธ อิจฉา สติ สมาธิ เอกัคคตา เจตนา พยาบาท ฯลฯที่เป็นอาการของจิตนั่นคือเจตสิก เจตสิก50ลักษณะ เป็นตัวปรุงแต่งจิตเป็นไปในแต่ละ ลักษณะ (สังขารนิมิต) คือ เจตสิก ที่เป็น สังขารนี้ปรุงแต่งจิตเกิดดับในแต่ละลักษณะ ปรากฏ เป็น สังขารนิมิต ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จึงมีนิมิตเครื่องหมายในอาการของจิตนั้นที่เจตสิกที่เป็นสังขารปรุงแต่ง
อันนี้รู้ด้วย ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานธรรมมารมณ์)
5.(วิญญาณ นิมิต)
"วิญญาณ คือ จิต ที่เกิดทาง6ทวาร
1.จักขุวิญญาณ คือ จิตเห็นเกิดทางทวารตา
2.โสตวิญญาณ คือ จิตได้ยินเกิดทางทวารหู
3.ฆานะวิญญาณ คือ จิตได้กลิ่น เกิดทางทวารจมูก
4 .ชิวหาวิญญาณ คือ จิตลิ้มรส เกิดทางทวารลิ้น
5กายวิญญาณคือจิตรู้โผฏทัพพที่กระทบทางทวารกาย
6.มโนวิญญาณ คือ จิตรู้ธรรมารมณ์ เกิดทางทวารใจ
การที่ รู้ว่าเป็น วิญญาณนิมิต จิตหรือวิญญาณ(ที่เกิดรู้อารมณ์ ทางทวารนั้น ต้องดับไปก่อน เป็น นิมิต ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จึงรู้ว่า เป็น วิญญาณนิมิตของ จิตเห็น จิตได้ยิน จิตได้กลิ่น จิตลิ้มรส จิตรู้โผฏทัพพ จิตคิดนึก ถ้าไม่มี วิญญาณนิมิต ที่ ปรากฏ ทางทวารนั้นๆ สิ่งที่ ปรากฏ ทางทวารนั้นๆไม่มี
อันนี้ รู้ด้วยปัญญาในการเจริญสติปัฏฐานในวิปัสสนาญาณ(ในฐานจิต)
หมายเหตุ
หากแม้นว่า ปัญญาไม่เกิดจากการเจริญในสติปัฏฐาน4เกิดวิปัสสนาญาณ จะไม่รู้ รูปนิมิต เวทนานิมิต สัญญานิมิต สังขารนิมิต วิญญาณนิมิต ที่ ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)จิตที่เกิดสืบต่อจะเกิด อุปาทานยึดในขันธ์5ที่ เป็น นิมิต ปรากฏ จึงเป็น เหตุเกิดของ (อุปาทานขันธ์5)
ส่วน
ปัญญา ที่เกิดจากการเจริญในสติปัฏฐาน4เกิดวิปัสสนาญาณ รู้ว่า รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ทาง6ทวารในขณะนี้เป็น นิมิต เครื่องหมายของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ ปัญญาที่เกิดรู้จากวิปัสสนาจะไม่เข้าไปยึด รูป นาม ขันธ์5ที่เกิดดับไป เป็น นิมิต ปรากฏ ของจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร) อุปาทานขันธ์5ไม่เกิด
ถ้า ไม่มี นิมิต ของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ทาง6ทวารในขณะนี้ จะมีแต่ความ ว่างเปล่า กับจิตที่เกิดสืบต่อ แต่เพราะมี นิมิต เครื่องหมายของ รูป นาม ขันธ์5ที่ ปรากฏ อยู่ในทาง6ทวารขณะนี้ จึงมี นิมิต ของ สิ่งหนึ่ง สิ่งใด ที่ปรากฏ กับจิตที่เกิดสืบต่อทางทวารใจ(มโนทวาร)
ค่อยๆตรึกตาม ช้าๆ ช้าๆ แต่ละคำ ไม่ต้องรีบร้อน สงสัยในธรรมตรงไหนก็ถามได้ครับ แต่การสนทนาธรรมจะมีเครื่องปิดกั้นปัญญา คือ มานะ ตัณหา ทิฏฐิ อันนี้เวลาสนทนาธรรมสอบถามธรรม ระวัง ปปัญจธรรมนี้เกิดด้วย
นี้คือการเจริญสติปัฏฐาน4เป็นทางไปสู่ความเป็นอริยชนผู้เจริญแล้วในพระพุทธศาสนานี้
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น