บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2022

ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

  ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

https://fb.watch/cBBCRy874F/

 https://fb.watch/cBBCRy874F/

https://fb.watch/cBBCRy874F/

 https://fb.watch/cBBCRy874F/

https://fb.watch/cBLMdIlkzb/

 https://fb.watch/cBLMdIlkzb/

https://fb.watch/cBLMdIlkzb/

 https://fb.watch/cBLMdIlkzb/

https://www.facebook.com/watch/ThumPhayai/?__cft__[0]=AZUYkpb3KPKJoeyGZbTpx5PNe0TKpOsjLpcTVXVZdfD1I61Vtq9tsNHGvgurQqG3Rfk5Ru2dMbf5zcvlL9Kck2lpgMEIX22Xc9neJPidSWCUsJFZz4cm5RaONfzwNTorycICccfgvTPUC-73VK_l1Iq9s78wJVUFvdx6VgH9R56vgZ2QtVWoehq8SjPY2fgiNqI

 https://www.facebook.com/watch/ThumPhayai/?__cft__[0]=AZUYkpb3KPKJoeyGZbTpx5PNe0TKpOsjLpcTVXVZdfD1I61Vtq9tsNHGvgurQqG3Rfk5Ru2dMbf5zcvlL9Kck2lpgMEIX22Xc9neJPidSWCUsJFZz4cm5RaONfzwNTorycICccfgvTPUC-73VK_l1Iq9s78wJVUFvdx6VgH9R56vgZ2QtVWoehq8SjPY2fgiNqI

ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

  ไทย 3 สหรัฐอเมริกา 3 สิงคโปร์ 1

สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

  สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

  สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

  สหรัฐอเมริกา 3 ไทย 2 สิงคโปร์ 1

ไทย 4

  ไทย 4
รูปภาพ
 

ไทย 4 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 4 สหรัฐอเมริกา 1

ไทย7เยอรมนี1สหรัฐอเมริกา1

 ไทย7เยอรมนี1สหรัฐอเมริกา1

ขาว

 ขาว

นิพพาน

 นิพพาน

สูง

 สูง

ธรรม

 ธรรม

ดี

 ดี

พุทธมณฑล

รูปภาพ
 

พุทธมณฑล

รูปภาพ
 

อุทัยธานี

 อุทัยธานี

อยู่ได้

 อยู่ได้

สูง

 สูง

ธรรม

 ธรรม

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

 ดี

อุทัยธานี

รูปภาพ
 

พุทธมณฑล

รูปภาพ
 

ราชธานีแห่งแรกของไทย ? เบ้าหลอมแห่งความหลากหลาย สู่การเป็นรัฐในอุดมคติ I...

รูปภาพ

อาณาจักร

 อาณาจักร

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

อาณาจักร

 อาณาจักร

ดี

รูปภาพ
 
รูปภาพ
 
รูปภาพ
 
รูปภาพ
 
รูปภาพ
 

จากนี้ไปจนนิรันดร์

  จากนี้ไปจนนิรันดร์

จากนี้ไปจนนิรันดร์

 จากนี้ไปจนนิรันดร์

ปล่อยวางธรรมะ

 ปล่อยวางธรรมะ
รูปภาพ
 

ไทย 7 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 7 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

ไทย 7 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 7 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

สูง

 สูง

ธรรม

 ธรรม

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

 ดี

하루 종일 들어도 좋은노래 BEST 100곡 | 가을에 듣기 좋은 노래 베스트 100곡 | 운동할 때 듣는 음악 | 일할때 듣기좋...

รูปภาพ

https://www.youtube.com/watch?v=evH9iPawSI4

 https://www.youtube.com/watch?v=evH9iPawSI4

https://www.youtube.com/watch?v=-Pf6PApgAe0&list=RD-Pf6PApgAe0&start_radio=1

 https://www.youtube.com/watch?v=-Pf6PApgAe0&list=RD-Pf6PApgAe0&start_radio=1

하루 종일 들어도 좋은노래 BEST 100곡 | 가을에 듣기 좋은 노래 베스트 100곡 | 운동할 때 듣는 음악 | 일할때 듣기좋...

รูปภาพ

จิตใจ

 จิตใจ

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

  ดี

พระ

  พระ

https://fb.watch/cshd_fpc6D/

 https://fb.watch/cshd_fpc6D/

พระ

พระ

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

พิธีพระราชทานเพลิงศพพระครูสิริปริยัตยากร (ศุภชัย สุจิตฺโต ป.ธ.๖)

 พิธีพระราชทานเพลิงศพพระครูสิริปริยัตยากร (ศุภชัย สุจิตฺโต ป.ธ.๖)

และนั่นเอง คือพุทธิพิมานอย่างแท้จริง!

 และนั่นเอง คือพุทธิพิมานอย่างแท้จริง!

และนั่นเอง คือพุทธิพิมานอย่างแท้จริง!

  และนั่นเอง คือพุทธิพิมานอย่างแท้จริง!

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

เพื่อทดแทนความผิด

 เพื่อทดแทนความผิด

ผมอยากทำดี

 ผมอยากทำดี

ผมทำชั่วมาหลาย

 ผมทำชั่วมาหลาย

สูง

 สูง

ธรรม

 ธรรม

ธรรม

 ธรรม

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

 ดี

มุสลิม

 มุสลิม

เจอฆ่า

 เจอฆ่า

https://www.facebook.com/buddhasangdham/videos/529184215413283/

 https://www.facebook.com/buddhasangdham/videos/529184215413283/

https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

 https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

https://www.facebook.com/pupasoong/videos/390422046420469/

 https://www.facebook.com/pupasoong/videos/390422046420469/

https://www.facebook.com/100055746289408/videos/763520961701269/

 https://www.facebook.com/100055746289408/videos/763520961701269/

https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

 https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

 https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=532524778238329&id=100044424339809

ศาสนาพุทธแพ้ภัยตัวเอง

 ศาสนาพุทธแพ้

ศาสนาพุทธ

 ศาสนาพุทธ

พุทธศาสนา

 พุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา

 พระพุทธศาสนา

ไทย6เยอรมนี1สหรัฐอเมริกา1

 ไทย6เยอรมนี1สหรัฐอเมริกา1

พุทธะน้อย

 พุทธะน้อย

สังฆะ

 สังฆะ

อนุพุทธะ

 อนุพุทธะ

อนุพุทธะ

 อนุพุทธะ

พุทธเจ้า

 พุทธเจ้า

พระพุทธเจ้า

 พระพุทธเจ้า

พุทโธอยู่ที่กายกับจิตวิญญาณ

 พุทโธอยู่ที่กายกับจิตวิญญาณ

ธัมโมอยู่ที่กายกับจิตวิญญาณ

 ธัมโมอยู่ที่กายกับจิตวิญญาณ

ธัมโมอยู่ที่กายกับใจ

 ธัมโมอยู่ที่กายกับใจ

ธรรมอยู่ที่กายกับจิต

 ธรรมอยู่ที่กายกับจิต

ศาสนสถาน ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของนักบวช การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จนถึงเป็นที่รวมองค์ประกอบหลักของศาสนา ทั้งหมดในศาสนสถาน ฐานะ ของศาสนสถานจึงเป็นสมบัติของศาสนา "วัด" คือ สถานที่ทางศาสนา ตามปกติแล้วจะมีเสนา สนะและอาคารถาวรวัตถุต่าง ๆ เป็นที่พำนักอาศัยศึกษา ปฏิบัติ พระธรรมวินัย และประกอบศาสนกิจของพระภิกษุ สงฆ์ ตลอดจนเป็นที่บำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางบริการทางการศึกษาและทางสังคม รวมทั้งเป็นแหล่งส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณี วัดทั้งหลายมีฐานะทางกฎหมาย คือ เป็นนิติบุคคลเท่าเทียมกัน แต่ในทางพระวินัยมีฐานะแตกต่างกัน ดังนั้น ตามมาตรา 31 แห่ง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ได้ จำแนกวัดออกเป็น 2 ชนิด คือ สำนักสงฆ์ และวัดที่ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา "สำนักสงฆ์" หมายถึงวัดที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งวัด แล้วแต่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา รวมถึงวัดที่ได้รับพระบรมราชานุญาต ให้สร้างขึ้นตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ. 121 และวัดที่สร้างขึ้นก่อน ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) ซึ่งยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาด้วย นับว่าเป็นวัดที่สมบูรณ์ทางกฏหมายแล้ว "วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา"หมายถึง "อาราม" ตามที่ได้เคยบัญญัติไว้ในมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ. 121 เป็นวัดที่เลื่อนฐานะมาจากสำนักสงฆ์ โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เพื่อประโยชน์แก่สังฆกรรมตามพระธรรมวินัยสำหรับพระสงฆ์ นับว่าเป็นวัดที่สมบูรณ์ด้วยฐานะทั้ง ทางกฏหมายและทางพระธรรมวินัยทุกประการ "พระอารามหลวง" หมายถึง วัดที่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้างและปฏิสังขรณ์ เป็นการส่วน พระองค์ พระอารามหลวงที่สำคัญ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนสนามไชยและถนนมหาราช ติดกับพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปิดให้เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 08.00 - 17.00 น. ชาวต่างชาติจะต้องซื้อบัตรเข้าชมคนละ ๒๐ บาท สำหรับนักท่องเที่ยวต้องแต่งกายสุภาพ สุภาพสตรีห้ามสวมกางเกงขาสั้นเหนือเข่าเข้าไปเที่ยวชม ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และเป็น วัดประจำรัชกาลที่ 1 วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา เลขที่ 34 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และวัดประจำรัชกาลที่ 2 วัดราชโอรสาราม ตั้งอยู่ที่ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพ 10150 ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่3 วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนสราญรมย์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่ 4 วัดเบญจมบพิตรสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 69 ถนนนครปฐม แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่ 5 วัดบวรนิเวศวิหาร ตั้งอยู่ที่ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่ 6 และที่ตั้งมหาวิทยาลัยสงฆ์ "มหามกุฏราชวิทยาลัย (มมร.)" วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิตร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่ 7 วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และวัดประจำรัชกาลที่ 8 วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ตั้งอยู่เลขที่ 999 ซอยพระราม 9 กาญจนาภิเษก 19 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ความสำคัญ : พระอารามหลวง และวัดประจำรัชกาลที่ 9 ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

             ศาสนสถาน  ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของนักบวช การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จนถึงเป็นที่รวมองค์ประกอบหลักของศาสนา ทั้งหมดในศาสนสถาน ฐานะ ของศาสนสถานจึงเป็นสมบัติของศาสนา            "วัด"  คือ สถานที่ทางศาสนา ตามปกติแล้วจะมีเสนา สนะและอาคารถาวรวัตถุต่าง ๆ เป็นที่พำนักอาศัยศึกษา ปฏิบัติ พระธรรมวินัย และประกอบศาสนกิจของพระภิกษุ สงฆ์ ตลอดจนเป็นที่บำเพ็ญกุศลต่างๆ นอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางบริการทางการศึกษาและทางสังคม รวมทั้งเป็นแหล่งส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณี วัดทั้งหลายมีฐานะทางกฎหมาย คือ เป็นนิติบุคคลเท่าเทียมกัน แต่ในทางพระวินัยมีฐานะแตกต่างกัน ดังนั้น ตามมาตรา 31 แห่ง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ได้ จำแนกวัดออกเป็น 2 ชนิด คือ สำนักสงฆ์ และวัดที่ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา              "สำนักสงฆ์"  หมายถึงวัดที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งวัด แล้วแต่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา รวมถึงวัดที่ได้รับพระบรมราชานุญาต ใ...

ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

  ไทย 6 เยอรมนี 1 สหรัฐอเมริกา 1

ความรัก

  ความรัก

ตัวคนเดียว

  ความรักกำลังอยู่ตัวเลย ตัวคนเดียว

สูง

 สุง

ธรรม

 ธรรม

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

 ดี

สูง

 สุง

ธรรม

 ธรรม

นิพพาน

 นิพพาน

ดี

 ดี

พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (บาลี: พุทฺธสาสนา, สันสกฤต: बुद्धशासना พุทฺธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย1 นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง เรื่องนี้เห็นจะไม่จริง เพราะแทบทุกวัด จะมีการสร้างรูปเคารพของเทพต่างๆมากมาย เพื่อเรียกความสนใจของประชาชน การสร้างเทวรูปหลากหลายที่สุดคือวัดสมานฯ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่บอกว่าพุทธศาสนาเป็นอเทวนิยมเห็นจะเป็นเรื่องในอุดมคติเท่านั้น ความเป็นจริงก็เห็นกันอยู่ว่าชาวพุทธทุกวันนี้กราบไหว้ยักษ์เวสสุวรรณและไอ้ไข่มากกว่าพระพุทธรูปด้วยซ้ำ เป็นศาสนาที่เชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน เรื่องนี้ก็เป็นแค่อุดมคติเช่นกัน ดูได้จากพระสงฆ์ดังๆต่างออกวัตถุมงคลกัน และอ้างว่าสามารถบรรดาลความร่ำรวยได้ จะมีพระสงฆ์สักกี่รูปที่สอนเรื่อง กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกาย[1] คือ ให้พึ่งตนเอง[2] เพื่อพาตัวเองออกจากกอง ทุกข์[3] มีจุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงในโลกด้วยวิธีการสร้าง ปัญญา ในการอยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนาคือการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและวัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับที่พระศาสดาทรงหลุดพ้นได้ด้วยกำลังสติปัญญาและความเพียรของพระองค์เอง ในฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็นมนุษย์ มิใช่เทพเจ้าหรือทูตของพระเจ้าองค์ใด[4] พระพุทธเจ้า พระองค์ปัจจุบันคือพระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ได้ทรงเริ่มออกเผยแผ่คำสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลังปรินิพพานของพระพุทธเจ้า พระธรรมวินัยที่พระองค์ทรงสั่งสอน ได้ถูกรวบรวมเป็นหมวดหมู่ด้วยการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งแรก[5] จนมีการรวบรวมขึ้นเป็นพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นหลักการสำคัญที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดของฝ่าย เถรวาท ที่ยึดหลักไม่ยอมเปลี่ยนแปลงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แต่ในการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่สอง ได้เกิดแนวคิดที่เห็นต่างออกไป[6] ว่าธรรมวินัยสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามเวลาและสถานการณ์เพื่อความอยู่รอดแห่งศาสนาพุทธ[7] แนวคิดดังกล่าวจึงได้เริ่มก่อตัวและแตกสายออกเป็นนิกายใหม่ในชื่อของ มหายาน ทั้งสองนิกายได้แตกนิกายย่อยไปอีกและเผยแพร่ออกไปทั่วดินแดนเอเชียและใกล้เคียง บ้างก็จัดว่า วัชรยาน เป็นอีกนิกายหนึ่ง แต่บ้างว่าเป็นส่วนหนึ่งของนิกายมหายาน แต่การจัดมากกว่านั้นก็มี[8] หลักพื้นฐานสำคัญของปฏิจสมุปบาท เป็นเพียงหลักเดียวที่เป็นคำสอนร่วมกันของคติพุทธ[9] ปัจจุบันศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทั่วโลก โดยมีจำนวนผู้นับถือส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย ทั้งในเอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันศาสนาพุทธ ได้มีผู้นับถือกระจายไปทั่วโลก ประมาณ 700 ล้านคน[10][11][12] ด้วยมีผู้นับถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจึงเป็นศาสนาสากล[13] เนื้อหา 1 องค์ประกอบ 1.1 สิ่งเคารพสูงสุด 1.2 ศาสดา 1.3 คัมภีร์ 1.4 ผู้สืบทอด 2 ประวัติ 3 หลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา 3.1 วัฏสงสาร 3.2 กฎแห่งกรรม 3.3 อริยสัจ 3.4 ปฏิจจสมุปบาท/อิทัปปัจจยตา 3.5 ไตรลักษณ์ 3.6 เป็นเช่นนั้นเอง 3.7 ความว่าง 3.8 ความหลุดพ้น 4 หลักปฏิบัติ 4.1 ไตรสิกขา 4.2 การเจริญสติ 4.3 อริยมรรค 4.4 ทางสายกลาง 5 ศาสนสถาน 6 พิธีกรรม 7 นิกาย 8 เชิงอรรถ 9 อ้างอิง 10 แหล่งข้อมูลอื่น องค์ประกอบ สิ่งเคารพสูงสุด พระรัตนตรัย คือ สรณะที่พึ่งอันประเสริฐในศาสนาพุทธ สรณะ หมายถึง สิ่งที่ให้ศาสนิกชนถือเอาเป็นแบบอย่าง หรือให้เอาเป็นตัวอย่าง แต่มิได้หมายความว่าเมื่อเคารพแล้วจะดลบันดาลสิ่งต่าง ๆ ตามต้องการได้ พระรัตนตรัยนั้นประกอบด้วยองค์สาม (ไตรสรณะ) ได้แก่ พระพุทธเจ้า เป็นผู้ที่บำเพ็ญสั่งสมบารมีมาหลายภพชาติ[14] จนชาติสุดท้ายเกิดเป็นมนุษย์แล้วอาศัยความเพียรพยายามและสติปัญญาปฏิบัติจนได้บรรลุสิ่งที่ต้องการคือธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ แล้วจึงทรงชี้แนะหรือชี้ทางให้คนอื่นทำตาม พระธรรม คือ คำสอนว่าด้วยธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วว่าทำให้พ้นจากทุกข์ พระสงฆ์ คือหมู่ชนหรือชุมชนของพระสาวก ไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ทำตามคำแนะนำของพระพุทธเจ้าแล้ว ประสบผลสำเร็จพ้นทุกข์ตามพระพุทธเจ้า ศาสดา การปฐมเทศนาของพระโคตมพุทธเจ้า ศาสดาของศาสนาพุทธ คือ พระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติในดินแดนชมพูทวีป ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 80 ปีก่อนพุทธศักราช ณ สวนลุมพินีวัน เจ้าชายสิทธัตถะผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา ทรงดำรงตำแหน่งรัชทายาท ผู้สืบทอดราชบัลลังก์กรุงกบิลพัสดุ์แห่งแคว้นสักกะ[15] และเมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงยโสธราแห่งเมืองเทวทหะ ต่อมาเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา มีพระโอรส 1 พระองค์พระนามว่า ราหุล[16] ในปีเดียวกัน พระองค์ทอดพระเนตรเทวทูตทั้งสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ จึงทรงตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นสมณะ เพื่อแสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ คือ ความแก่ เจ็บ และตาย ในปีเดียวกันนั้น ณ ริมฝั่งแม่น้ำอโนมานที[17] และหลังจากออกผนวชมา 6 พรรษา ทรงประกาศการค้นพบว่าการหลุดพ้นจากทุกข์ทำได้ด้วยการฝึกจิตด้วยการเจริญสติ ประกอบด้วยศีล สมาธิ และปัญญา จนสามารถรู้ทุกสิ่งตามความเป็นจริงว่า เป็นทุกข์เพราะสรรพสิ่งไม่สมบูรณ์ ไม่แน่นอน และบังคับให้เป็นดั่งใจไม่ได้ จนไม่เห็นสิ่งใดควรยึดมั่นถือมั่นหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง จวบจนได้ทรงบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ[18] คือ การตรัสรู้ อริยสัจ 4 ขณะมีพระชนมายุได้ 35 พรรษา ที่ใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม จากนั้นพระองค์ได้ออกประกาศสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ตลอดพระชนม์ชีพ เป็นเวลากว่า 45 พรรษา ทำให้ศาสนาพุทธดำรงมั่นคงในฐานะศาสนาอันดับหนึ่งอยู่ในชมพูทวีปตอนเหนือ[19] จวบจนพระองค์ได้เสด็จปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ณ สาลวโนทยาน (ในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6) [20] คัมภีร์ คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา พระไตรปิฎกเถรวาท ๔๕ เล่ม Mahajula Tripiṭaka.jpg พระวินัยปิฎก คัมภีร์ สุตตวิภังค์ คัมภีร์ ขันธกะ คัมภีร์ ปริวาร พระสุตตันตปิฎก คัมภีร์ ทีฆนิกาย คัมภีร์ มัชฌิมนิกาย คัมภีร์ สังยุตตนิกาย คัมภีร์ อังคุตตรนิกาย คัมภีร์ ขุททกนิกาย พระอภิธรรมปิฎก สงฺ วิภงฺ ธา ปุ. กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์ หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา ในยุคก่อนจะบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ใช้วิธีท่องจำ (มุขปาฐะ) โดยใช้วิธีการแบ่งให้สงฆ์หลาย ๆ กลุ่มรับผิดชอบท่องจำในแต่ละเล่ม เป็นเครื่องมือช่วยในการรักษาความถูกต้องของหลักคำสอน จวบจนได้ถือกำเนิดอักษรเขียนที่เลียนแบบเสียงเกิดขึ้นมาซึ่งสามารถรักษาความถูกต้องของคำสอนเอาไว้ได้แทนอักษรภาพแบบเก่าที่รักษาความถูกต้องไม่ได้ จึงได้มีการบันทึกพระธรรมและพระวินัยเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นภาษาบาลี รักษาไว้ในคัมภีร์เรียกว่า "พระไตรปิฎก" ซึ่งสามารถแยกออกได้เป็น 3 หมวดหลัก ได้แก่ พระวินัยปิฎก ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรมทั่วไป และเรื่องราวต่าง ๆ พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยธรรมะที่เป็นปรมัตถ์ธรรม หรือธรรมะที่แสดงถึงสภาวะล้วน ๆ ไม่มีการสมมุติ ผู้สืบทอด ผู้สืบทอดในทางศาสนาพุทธ ได้แก่ พุทธบริษัท 4 อันหมายถึง พุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อันเป็นกลุ่มผู้ร่วมกันนับถือ ร่วมกันศึกษา และร่วมกันรักษาพุทธศาสนาไว้ ผู้นับถือศาสนาพุทธที่ได้บวชเพื่อศึกษา ปฏิบัติตามคำสอน (ธรรม) และคำสั่ง (วินัย) และมีหน้าที่เผยแผ่พระธรรมของพระพุทธเจ้า เรียกว่าภิกษุ ในกรณีที่เป็นเพศชาย และภิกษุณี ในกรณีที่เป็นเพศหญิง สำหรับผู้บวชที่ตั้งแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ 20 ปี จะเรียกว่าเป็น สามเณร สำหรับเด็กชาย และ สามเณรีและสิกขมานา (สามเณรีที่ต้องไม่ผิดศีล 6 ข้อตลอด 2 ปี) สำหรับเด็กหญิง ลักษณะการบวชสำหรับภิกษุหรือภิกษุณี จะเรียกเป็นการอุปสมบท สำหรับสามเณรหรือสามเณรีและสิกขมานา จะเรียกเป็นการ บรรพชา คฤหัสถ์ชาย-หญิง ที่นับถือพระพุทธศาสนา เรียกว่าอุบาสก อุบาสิกา ตามลำดับ ประวัติ ดูบทความหลักที่: ประวัติพุทธศาสนา หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้เสด็จไปโปรดพระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี พระองค์ได้ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์ พระโกณฑัญญะบรรลุเป็นพระโสดาบัน และกราบทูลขอบวช นับเป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก ในสมัยพุทธกาล พระองค์ได้เสด็จไปเผยแผ่พุทธศาสนาตามที่ต่าง ๆ ในชมพูทวีปเป็นเวลานานกว่า 45 พรรษา จนกระทั่งปรินิพพาน ภายหลังการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ได้เกิดความขัดแย้งอันเกิดจากการตีความพระธรรมคำสอนและพระวินัยไม่ตรงกัน จึงมีการแก้ไขโดยมีการจัดทำสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินัยที่ถูกต้องไว้เป็นหลักฐานสำหรับยึดถือเป็นแบบแผนต่อไป จึงนำไปสู่การทำสังคายนาพระไตรปิฎก ในการทำสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 2 นี้เองที่พระพุทธศาสนาแตกออกเป็นหลายนิกายกว่า 20 นิกาย[21] และในการทำสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 3 ในรัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ได้ทรงแต่งสมณทูต 9 สายออกไปเผยแผ่พุทธศาสนา จนกระทั่งพุทธศาสนาแผ่ขยายไปอย่างกว้างขวาง ศาสนาพุทธมีความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อมถอยสลับกัน เนื่องจากการส่งเสริมของผู้มีอำนาจปกครองในแต่ละท้องถิ่น แต่ในภาพรวมแล้ว พุทธศาสนาในอินเดียเริ่มอ่อนแอลงหลังพุทธศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา โดยศาสนาฮินดูได้เข้ามาแทนที่ เช่นเดียวกับการเสื่อมถอยของพุทธศาสนาในเอเชียกลาง จีน เกาหลี ในขณะที่ศาสนาพุทธได้เข้าไปตั้งมั่นอยู่ในญี่ปุ่น และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 25 ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ศาสนาพุทธเริ่มเป็นที่ดึงดูดใจของชาวตะวันตกมากขึ้น และได้มีการตั้งองค์กรทางพุทธศาสนาระดับโลกโดยชาวพุทธจากเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือรวม 27 ประเทศที่ศรีลังกาเมื่อ พ.ศ. 2493 ในชื่อ "องค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก"[22] หลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา ศาสนาพุทธสอนว่า ปรมัตถธรรม หรือสรรพสิ่งมี 4 อย่างคือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน จึงปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้า (เพราะพระเป็นเจ้าจัดเข้าในปรมัตถธรรมไม่ได้) และเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติหรือนิยาม5 ประการ คือ อุตุนิยาม พีชนิยาม จิตนิยาม กรรมนิยาม ธรรมนิยาม วัฏสงสาร ดูบทความหลักที่: วัฏสงสาร กฎแห่งกรรม ดูบทความหลักที่: กฎแห่งกรรม กฎแห่งกรรม คือกฎธรรมชาติที่ว่าด้วยการกระทำและผลของการกระทำ ซึ่งการกระทำกับผลนั้นย่อมมีความสัมพันธ์กันเช่น ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ผลของการกระทำ อริยสัจ ดูบทความหลักที่: อริยสัจ 4 อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ ๔ เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ทุกข์ ในทางศาสนาพุทธคือ ไตรลักษณ์(หลักสัจจธรรมของพุทธศาสนา) เป็นลักษณะสภาพพื้นฐานธรรมชาติอย่างหนึ่ง จากทั้งหมด 3 ลักษณะ ที่พุทธศาสนาได้สอนให้เข้าใจถึงเหตุลักษณะแห่งสรรพสิ่งที่เป็นไปภายใต้กฎไตรลักษณ์ อันได้แก่ อนิจจัง (ความไม่เที่ยงแท้) ทุกขัง (ความทนอยู่อย่างเดิมได้ยาก) อนัตตา (ความไม่มีแก่นสาระ) รูปภวจักร หรือสังสารจักรของทิเบต แสดงถึงอวิชชา ได้แก่ผลของการขาดปัญญาในการรู้ทันเหตุเกิดแห่งทุกข์ (สมุทัย) ทำให้ต้องจมเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในกองทุกข์ทั้งปวงไม่จบสิ้น เหตุแห่งทุกข์ (สมุทัย) ได้แก่ ปฏิจจสมุปบาท (หลักศรัทธาของพุทธศาสนา) พุทธศาสนา สอนว่า ความทุกข์ ไม่ได้เกิดจากสิ่งใดดลบันดาล หากเกิดแต่เหตุและปัจจัยต่างๆ มาประชุมพร้อมกัน โดยมีรากเหง้ามาจากความไม่รู้หรือ อวิชชา ทำให้กระบวนการต่างๆ ไม่ขาดตอน เพราะนามธาตุที่เป็นไปตามกฎนิยาม ตามกระบวนการที่เรียกว่ามหาปัฏฐาน ทำให้เกิดสังขารเจตสิกกฎเกณฑ์การปรุงแต่งซึ่งเป็นข้อมูลอันเป็นดุจพันธุกรรมของจิต วิวัฒนาการเป็นธรรมธาตุอันเป็นระบบการทำงานของนามขันธ์ที่ประกอบกันเป็นจิต ( อันเป็นสภาวะที่รับรู้และเป็นไปตามเจตสิกของนามธาตุ) และเป็นวิญญาณขันธ์ ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นธาตุแสง (รังสิโยธาตุ) อันเกิดจากการทำงานของนามธาตุอย่างเป็นระบบ จนสามารถประสานหรือกำหนดกฎเกณฑ์รูปขันธ์ ของชีวิตินทรีย์ (เช่นไวรัส แบคทีเรีย ต้นไม้ เซลล์ ที่มีชีวิตขึ้นมาเพราะกฎพีชนิยาม) ทำให้เหตุผลของรูปขันธ์เป็นไปตามเหตุผลของนามขันธ์ด้วย (จิตเป็นนายกายเป็นบ่าว) ทำให้รูปขันธ์ที่เป็นชีวิตินทรีย์พัฒนามีร่างกายที่สลับซับซ้อนมีระบบการทำงานจนเกิดมีปสาทรูป 5 รวมการรับรู้ทางมโนทวารอีก 1 เป็นอายตนะทั้ง 6 เมื่ออายตนะกระทบกับสรรพสิ่งที่มากระทบจนเกิดผัสสะ จนเกิดเวทนา คือ ความสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่สุขไม่ทุกข์บ้าง(อุเบกขา) เพราะอาศัย เวทนา จึงมี ตัณหา เพราะอาศัย ตัณหาจึงมี การแสวงหา (ปริเยสนา) เพราะอาศัย การแสวงหา จึงมี การได้ (ลาโภ) เพราะอาศัย การได้ จึงมี ความปลงใจรัก (วินิจฺฉโย) เพราะอาศัย ความปลงใจรัก จึงมี ความกำหนัดด้วยความพอใจ (ฉนฺทราโค) เพราะอาศัย ความกำหนัดด้วยความพอใจ จึงมี ความติดอกติดใจ (ปริคคฺโห) เพราะอาศัย ความจับอกจับใจ จึงมี ความตระหนี่ (มฺจฉริยํ) เพราะอาศัย ความตระหนี่ จึงมี การหวงกั้น (อารกฺโข) เพราะอาศัย การหวงกั้น จึงมี เรื่องราวอันเกิดจากการหวงกั้น (อารกฺขาธิกรณํ) กล่าวคือ การใช้อาวุธไม่มีคม การใช้อาวุธมีคม การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวคำหยาบว่า “มึง ! มึง !” การพูดคำส่อเสียด และการพูดเท็จทั้งหลาย : ธรรมอันเป็นบาปอกุศลเป็นอเนก ย่อมเกิดขึ้นพร้อมด้วยอาการอย่างนี้ และยึดว่าสิ่งนั้นๆเป็นตัวกู (อหังการ) ของกู (มมังการ)[23] ทำให้มีอุปาทาน (ความยึดมั่นถือมั่น) เพราะมีสัญญาการสมมุติว่าเป็นสิ่งนั้นเป็นสิ่งนี้จึงมี จึงเกิดการสร้างภพของจิตหรือภวังคจิต(จิตใต้สำนึก) และสร้างกรรมอันเป็นเหตุแห่งการสร้างภพชาติขึ้นมา สู่การเวียนว่ายตายเกิดของจิตวิญญาณทั้งหลายนับชาติไม่ถ้วน ผ่านไประหว่าง วัฏสงสารทั้ง 31 ภูมิ (มิติต่าง ๆ ตั้งแต่เลวร้ายที่สุด (นรก) ไปจนถึงสุขสบายที่สุด (สวรรค์) ในโลกธาตุที่เหมาะสมในเวลานั้นที่สมควรแก่กรรม นี้เรียกว่า สังสารวัฏ สำหรับการเวียนว่ายของจิตวิญญาณมีเหตุมาจาก "อวิชชา" คือความที่จิตไม่รู้ถึงความเป็นจริง ไปหลงผิดในสิ่งสมมุติต่างๆซึ่งเป็นรากเหง้าของกิเลสทั้งหลาย เมื่อจิตยังมีอวิชชาสัตว์โลกย่อมเวียนว่ายตายเกิด และประสบพบเจอพระไตรลักษณ์อันเป็นเหตุให้ประสบทุกข์มีความแก่และความตาย เป็นต้น ไม่สิ้นสุด จนกว่าจะทำลายที่ต้นเหตุคืออวิชชาลงได้ ศาสนาพุทธเป็นศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ ด้วยการสร้าง "ปัญญา" ในการอยู่กับความทุกข์อย่างรู้เท่าทัน เพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ อันสูงสุดคือ นิพพาน คือการไม่มีความทุกข์ อย่างที่สุด หรือ การอยู่ในโลกอย่างไม่มีทุกข์ คือกล่าวว่า ทุกข์ทั้งปวงล้วนเกิดจากการยึดถือ ต่อเมื่อ "หมดการยึดถือ" จึงไม่มีอะไรจะให้ทุกข์ (แก้ที่ต้นเหตุของทุกข์ทั้งหมด) ความดับทุกข์ (นิโรธ) คือ นิพพาน ( เป้าหมายสูงสุดของพุทธศาสนา ) อันเป็น แก่นของศาสนาพุทธ เป็นความสุขสูงสุด หรือเรียกอีกอย่างว่า วิราคะปราศจากกิเลส วิโมกข์พ้นไปจากการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ อนาลโย ไม่มีความอาลัย ปฏินิสสัคคายะการปล่อยวาง วิมุตติ การไม่ปรุงแต่ง อตัมมยตา ไม่หวั่นไหว และสุญญตา ความว่าง เนื่องจากธรรมดาของสัตว์โลกมีปกติทำความชั่วมากโดยบริสุทธิ์ใจในความเห็นแก่ตัว ทำดีน้อยซึ่งไม่บริสุทธิ์ใจ ซ้ำหวังผลตอบแทน จึงมีปกติรับทุกข์มากกว่าสุข ดังนั้น ถ้าเป็นผู้มีปัญญาหรือเป็นพ่อค้าที่ฉลาดยอมรู้ว่าขาดทุนมากกว่าได้กำไร และ สุขที่ได้เป็นเพียงมายา ย่อมปรารถนาในพระนิพพาน เมื่อ ขันธ์5 แตกสลาย เจตสิกที่ประกอบกันให้เกิดเป็นจิตนั้นก็แตกสลายตามเช่นเดียวกัน เพราะไม่มีเหตุปัจจัยจะประกอบกันให้เกิดเป็นจิตนั้น กรรมย่อมไม่อาจให้ผลได้อีก (อโหสิกรรม) เหลือเพียงแต่พระคุณความดี เมื่อมีผู้บูชาย่อมส่งผลกรรมดีให้แก่ผู้บูชาเหมือนคนตีกลอง กลองไม่รับรู้เสียง แต่ผู้ตีได้รับอานิสงส์เสียงจากกลอง วิถีทางดับทุกข์ (มรรค) คือ มัชฌิมาปฏิปทา (หลักการดำเนินชีวิตของพุทธศาสนา) ทางออกไปจากสังสารวัฏมีทางเดียว โดยยึดหลักทางสายกลาง อันเป็นอริยมรรค คือ การฝึกสติ (การทำหน้าที่ของจิตคือตัวรู้ให้สมบูรณ์) เป็นวิธีฝึกฝนจิตเพื่อให้ถึงซึ่งความดับทุกข์หรือมหาสติปัฏฐาน โดยการปฏิบัติหน้าที่ทุกชนิดอย่างมีสติด้วยจิตว่างตามครรลองแห่งธรรมชาติ มีสติอยู่กับตัวเองในเวลาปัจจุบัน สิ่งที่กำลังกระทำอยู่เป็นสิ่งสำคัญกว่าทุกสรรพสิ่ง ทำสติอย่างมีศิลปะคือรู้ว่าเวลาและสถานการณ์เช่นนี้ ควรทำสติกำหนดรู้กิจใดเช่นไรจึงเหมาะสม จนบรรลุญานตลอดจน มรรคผล เมื่อจำแนกตามลำดับขั้นตอนของการบำเพ็ญเพียรฝึกฝนทางจิต คือ ศีล (ฝึกกายและวาจาให้ละเว้นจากการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น รวมถึงการควบคุมจิตใจไม่ให้ตกอยู่ในอำนาจฝ่ายต่ำด้วยการเลี้ยงชีวิตอย่างพอเพียง) สมาธิ (ฝึกความตั้งใจมั่นจนเกิดความสงบ (สมถะ) และทำสติให้รับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง) (วิปัสสนา) ด้วยความพยายาม ปัญญา (ให้จิตพิจารณาธรรมชาติจนรู้ว่าสิ่งทั้งปวงเป็นเช่นนั้นเอง (ตถตา) และตื่นจากมายาที่หลอกลวงจิตเดิมแท้ (ฐิติภูตัง) ปฏิจจสมุปบาท/อิทัปปัจจยตา ดูบทความหลักที่: ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ดูบทความหลักที่: ไตรลักษณ์ เป็นเช่นนั้นเอง ดูบทความหลักที่: ตถตา ความว่าง ดูบทความหลักที่: สุญญตา ความหลุดพ้น ดูบทความหลักที่: นิพพาน หลักปฏิบัติ ศาสนาพุทธมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวงคือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทั้งเน้นการศึกษาทำความเข้าใจ การโยนิโสมนสิการด้วยปัญญา และพิสูจน์ทราบข้อเท็จจริง เห็นเหตุผลว่าสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมี จนเห็นตามความเป็นจริงว่าสรรพสิ่งในธรรมชาติเป็นไปตามกฎพระไตรลักษณ์ และสัตว์โลกที่เป็นไปตามกฎแห่งกรรม แล้วเลือกใช้หลักธรรมในพุทธศาสนาที่เหมาะกับผลที่จะได้สิ่งที่ปรารถนาอย่างถูกต้อง ด้วยความไม่ประมาทในชีวิตให้มีความสุขในทั้งชาตินี้และชาติต่อ ๆ ไป ตลอดจนปรารถนาในพระนิพพานของผู้มีปัญญา ไตรสิกขา ดูบทความหลักที่: ไตรสิกขา การวางรากฐาน การเจริญสติ ดูบทความหลักที่: สติ อริยมรรค ดูบทความหลักที่: มรรค ๘ ทางสายกลาง ดูบทความหลักที่: มัชฌิมาปฏิปทา ศาสนสถาน ดูบทความหลักที่: วัด วัดอันเป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพุทธ ซึ่งเป็นสถานที่อยู่อาศัย หรือ ที่จำพรรษา ของ พระภิกษุ สามเณรตลอดจน แม่ชี เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมประจำวันของพระภิกษุสงฆ์ เช่น การทำวัตรเช้าและเย็น และสังฆกรรมในพระอุโบสถ อีกทั้ง ยังใช้ประกอบพิธีกรรมเช่นการเวียนเทียนเป็นต้นในวันสำคัญทางศาสนาพุทธ และยังเป็นศูนย์รวมในการมาร่วมกันทำกิจกรรมในทางช่วยกันส่งเสริมพุทธศาสนาเช่นการมาทำบุญในวันพระของแต่ละท้องถิ่นของพุทธศาสนิกชน อีกด้วย พิธีกรรม [icon] ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ นิกาย พระพุทธรูปในถ้ำซ็อกคูรัม ประเทศเกาหลีใต้ ศาสนาพุทธ แบ่งออกเป็นนิกายใหญ่ได้ 2 นิกายคือ เถรวาทและมหายาน นอกจากนี้แล้วยังมีการแบ่งที่แตกต่างออกไปแบ่งเป็น 3 นิกาย เนื่องจากวัชรยานถือว่าตนเป็นยานพิเศษโดยเฉพาะ ต่างจากมหายาน เถรวาท หรือ หีนยาน (แปลว่า ยานเล็ก) หมายถึง คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งคำสั่งสอนและหลักปฏิบัติจะเป็นไปตามพระไตรปิฎก นับถือเป็นประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไทย, ศรีลังกา, พม่า, ลาว และกัมพูชา ส่วนที่นับถือเป็นส่วนน้อยพบทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (โดยเฉพาะกลุ่มเชื้อสายเขมร), บังกลาเทศ (ในกลุ่มชนเผ่าจักมา และคนในสกุลพารัว) และทางตอนบนของมาเลเซีย (ในหมู่ผู้มีเชื้อสายไทย) มหายาน (แปลว่า ยานใหญ่) หรือ อาจาริยวาท แพร่หลายในสาธารณรัฐประชาชนจีน, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้, เวียดนามและสิงคโปร์ พบเป็นประชาชนส่วนน้อยในประเทศเนปาล (ซึ่งอาจพบว่านับถือร่วมกับศาสนาอื่นด้วย)[24][25] ทั้งยังพบในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, บรูไน และฟิลิปปินส์ ซึ่งส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ พบมากในเขตปกครองตนเองทิเบตของจีน, ประเทศภูฏาน, มองโกเลีย และดินแดนในการปกครองรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐตูวา[26][27] และคัลมืยคียา[28][29] นอกจากนี้เป็นประชากรส่วนน้อยในดินแดนลาดัก รัฐชัมมูและกัษมีร์ ประเทศอินเดีย[30], เนปาล, ปากีสถาน (ในเขตบัลติสถาน)[31] เชิงอรรถ หมายเหตุ 1: ไตรสรณคมน์ หรือที่แปลว่า การสมาทานนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึก (taking refuge in the triple gem) เดิมเคยเป็นเอกลักษณ์และข้อผูกมัดแห่งวิถีพุทธ และเป็นความแตกต่างทั่วไประหว่างชาวพุทธกับศาสนิกชนอื่น[32] อ้างอิง ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑๒. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[1]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค อัตตทีปวรรคที่ ๕ อัตตทีปสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[2]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เจลสูตร (ว่าด้วยการมีธรรมเป็นเกาะเป็นที่พึ่ง). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[3]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑2 อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย ปฐมปัณณาสก์. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[4]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ ปัญจสติกขันธกะ(เรื่องพระมหากัสสปเถระ สังคายนาปรารภคำของพระสุภัททวุฑฒบรรพชิต). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[5]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ เรื่องพระสัมภูตสาณวาสีเถระ. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[6]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ สัตตสติกขันธกะ ที่ ๑๒ (ถามและแก้วัตถุ ๑๐ ประการ). พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[7]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ Nine Yana categorisation ↑ Dalai Lama. The Middle Way. Wisdom Publications 2009, page 22. ↑ Major Religions Ranked by Size Archived 2008-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน; U.S. State Department's International Religious Freedom Report 2004. http://www.state.gov/g/drl/rls/irf/2004/ Accessed 20 September 2008; Garfinkel, Perry. "Buddha Rising", National Geographic Dec. 2005: 88–109; CIA - The World Factbook Archived 2010-01-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ↑ Lopez, Story of Buddhism. p. 239 ↑ Lopez, Buddhism. p. 248 ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 602 ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 110 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[8]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค กูฏทันตสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[9]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ พุทธาปทาน ชื่อปุพพกรรมปิโลติที่ ๑๐ (๓๙๐) ว่าด้วยบุพจริยาของพระองค์เอง. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[10]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ สคารวสูตร. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[11]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ปาสาทิกสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[12]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[13]>. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52 ↑ อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. ศาสนาพุทธมหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กทม. มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539. น.41-79. ↑ พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากลอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. ราชบัณฑิตยสถาน. 2548. น. 581-582. ↑ อรรถกถาตัณหาสูตรที่ ๓ ↑ Vergati, Anne (2009). "Image and Rituals in Newar Buddhism". Société Européenne pour l'Etude des Civilisations de l'Himalaya et de l'Asie Centrale. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-01-07. สืบค้นเมื่อ 30 May 2011. ↑ Diwasa, Tulasi (2007). "The Intangible Cultural Heritage of Nepal: Future Directions" (PDF). UNESCO Kathmandu Series of Monographs and Working Papers: No 14. UNESCO Kathmandu Office. สืบค้นเมื่อ 4 May 2011.Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)Page 7. ↑ Arena - Atlas of Religions and Nationalities in Russia. Sreda.org ↑ 2012 Survey Maps. "Ogonek", № 34 (5243), 27/08/2012. Retrieved 24-09-2012. ↑ Dge-lugs-pa, Encyclopædia Britannica, 2008. Retrieved on 2008-11-01 ↑ Tibetan Buddhism, The Columbia Encyclopedia, 6th Edition, 2001. Retrieved on 2008-11-01. ↑ "Ladakh Festival - a Cultural Spectacle". EF News International. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-05-02. สืบค้นเมื่อ 2006-08-28. ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2011-12-10. ↑ Padmasambhava, Jamgon Kongtrul, Erik Pema Kunsang (2004). Light of Wisdom. Rangjung Yeshe Publications. ISBN 9789627341376. สืบค้นเมื่อ 2010-08-25. แหล่งข้อมูลอื่น icon สถานีย่อยพระพุทธศาสนา icon สถานีย่อยศาสนา คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ศาสนาพุทธ 84000 พระธรรมขันธ์ เว็บไซต์ข้อมูลพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐออนไลน์ อภิธรรมออนไลน์ ยุบดคก กลุ่มศาสนาที่สำคัญ อับราฮัม คริสต์ โรมันคาทอลิก ละตินคาทอลิกตะวันออกออร์ทอดอกซ์ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์โปรเตสแตนต์ ลูเทอแรนเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์เพรสไบทีเรียนเมทอดิสต์แบปทิสต์แองกลิคันปฏิรูปทรูจีซัสพยานพระยะโฮวามอรมอน อิสลาม ซุนนีชีอะฮ์ศูฟีAhmadiอัลกุรอานนิยมเนชั่นออฟอิสลาม ยูดาห์ ยูดาห์ออร์ทอดอกซ์ ฮาเรดีฮาซิดยูดาห์ออร์ทอดอกซ์ดั้งเดิมยูดาห์อนุรักษนิยมยูดาห์ปฏิรูปยูดาห์บูรณปฏิสังขรณ์ อื่น ๆ ลัทธิบาบี อซะลีบาไฮดรูซศาสนามันดาอีราสตาฟารีลัทธิสะมาริตัน อินเดีย ฮินดู ไวษณพ เคาฑิณยไวษณพไศวะศักติสมารตะคณปัตยะเกามารัม เศราตะRavidassiaพื้นเมืองปัญจาบ ลิงคายัตบาหลีอัยยาวฬีใหม่ พุทธ เถรวาทมหายาน ฉาน/เซนสุขาวดีนิจิเร็งวัชรยาน ทิเบตยุคใหม่ ชนเผ่าในอนุทวีปอินเดีย BathouismBongthingismDonyi-Poloพื้นบ้านทราวิฑKiratism/YumaismSanamahismลัทธิสรนา อื่น ๆ เชน ทิคัมพรเศวตามพรซิกข์ นามธารีนานักปันถิ อินโด-ยูโรเปียน อินโด-อิเรเนียน Yazdânism IshikismYârsânismYazidiโซโรอัสเตอร์ ยุโรป อาร์มีเนียบอลติก DievturiDruwiRomuvaคานารีคอเคซอยด์เซลติก ดรู-อิดเจอร์มานิกกรีกโบราณใหม่ฮังการีอิตาลี-โรมันสลาวิกอูรัลเวทมนตร์นิยมโรมาเนีย เอเชียกลางและ เอเชียเหนือ Burkhanismเชมันแมนจูเชมันมองโกเลียเชมันไซบีเรียเทงกรี เอเชียตะวันออก จีน ขงจื๊อฝ่าเต๋าพื้นบ้านจีนเชมันจีนวิมุตตินิยมชินโตเชมันเกาหลีพื้นบ้านเวียดนาม กาวด่ายĐạo Mẫuศาสนาพื้นเมืองทิเบต BenzhuismBimoismบอนตงปาพื้นบ้านพม่าศาสนาพื้นบ้านม้ง-เมี่ยน ม้งเต๋าแบบเย้า แอฟริกา พื้นเมือง AkanAkambaBambutiBantuBerberBushongoDahomey (Fon)DinkaEfikIsokoKhoe/San (Khoikhoi)LotukoLoziLugbaraMasaiỌdinaniSerer creation mythTumbukaWaaqโยรูบาซูลู พลัดถิ่น กันดอมเบลQuimbandaซันเตริอาUmbandaวูดู อื่น ๆ ศาสนาพื้นเมืองขร้า-ไท ผีซือกงพื้นเมืองออสเตรเลียชวาพื้นเมืองอเมริกันเมโสอเมริกันฟิลิปปินส์พอลีนีเชีย ศาสนาเกิดใหม่ ดิสคอร์เดียนเอกอังการ์นิวเอจนิวธอจท์ลัทธิราเอลไซแอนทอลอจีธลีมลัทธิสากลนิยมแบบยูนิแทเรียน ศาสนาในอดีต ก่อนประวัติศาสตร์ Paleolithicฮารัปปาศาสนาอียิปต์โบราณ Atenismศาสนาเมโสโปเตเมีย ศาสนาซูเมอร์ศาสนาเซไมท์โบราณ ศาสนาคานาอันโบราณยาห์เวห์นิยมอาหรับโซมาลีHurrianUratuอีทรัสคันบาสก์จอร์เจียพระเวทอาร์เมเนียแอลเบเนียกรีก MyteriesOrphismไญยนิยมHermeticismพุทธแบบกรีกVainakhProto-Indo-EuropeanProto-Indo-Iranianศาสนามาสดาฮิตไทต์Thracianโรมัน Imperial cultGallo-RomanMithraismศาสนามาณีกี ศาสนามาซดาคศาสนาไซเธียนเจอร์มานิก แองโกล-แซกซอนคอนทิเนนทอลแฟรงค์นอร์สเซลติกบอลติกสลาวิกฟินนิชฮังการีไอนุเมลานีเซียไมโครนีเซีย นาอูรูหมู่เกาะคุกราปานุยตองกาอินคาโอลเม็คZatopecFuegian Selk'namคานารีสวาฮิลีจาเมกามารูน หมวดหมู่: ศาสนาพุทธก่อตั้งในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2565 เวลา 15:47 น. อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน และอาจมีเงื่อนไขเพิ่มเติม ดูรายละเอียดที่ ข้อกำหนดการใช้งาน Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร ติดต่อเรา

รูปภาพ
  พระพุทธศาสนา   หรือ   ศาสนาพุทธ   ( บาลี :   พุทฺธสาสนา ,   สันสกฤต :   बुद्धशासना   พุทฺธศาสนา ) เป็น ศาสนา ที่มี พระพุทธเจ้า เป็น ศาสดา   มี พระธรรม ที่พระองค์ ตรัสรู้ ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มี พระสงฆ์   (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอด คำสอนของพระบรมศาสดา   รวมเรียกว่า พระ รัตนตรัย 1   นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า   พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนา อเทวนิยม  ปฏิเสธการมีอยู่ของ พระเป็นเจ้า หรือ พระผู้สร้าง  เรื่องนี้เห็นจะไม่จริง เพราะแทบทุกวัด จะมีการสร้างรูปเคารพของเทพต่างๆมากมาย เพื่อเรียกความสนใจของประชาชน การ...