บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2021

ดี

รูปภาพ
 

ไทย2

  2

https://youtu.be/6TebLDjXNxs

 https://youtu.be/6TebLDjXNxs

https://youtu.be/6TebLDjXNxs

 https://youtu.be/6TebLDjXNxs

https://youtu.be/6TebLDjXNxs

 https://youtu.be/6TebLDjXNxs

ดี

รูปภาพ
 

ไทย3 โปรตุเกส 2

 ไทย 3 โปรตุเกส 2

ธรรม

 ธรรม

จบ

 จบ

จบ

 จบ

ธรรม

รูปภาพ
 

หลวงปู่สุพจน์ ฐิตพฺพโต วัดห้วงพัฒนา มรณภาพแล้ว

  หลวงปู่สุพจน์ ฐิตพฺพโต วัดห้วงพัฒนา มรณภาพแล้ว

หลวงปู่สุพจน์ ฐิตพฺพโต วัดห้วงพัฒนา มรณภาพแล้ว

  หลวงปู่สุพจน์ ฐิตพฺพโต วัดห้วงพัฒนา มรณภาพแล้ว

ธง

 ธง

ดี

รูปภาพ
 

พึ่งได้คือความดี

  พึ่งได้คือความดี

https://youtu.be/_ZSyA16jQNA

 https://youtu.be/_ZSyA16jQNA

พึ่งได้คือความดี

  พึ่งได้คือความดี

ไม่ต้องห่วงกูดอกกูบอกแล้ว เมืองแก้วเป็นบ้านอยู่กูสุขสันต์ สูจินำร้องไห่ทำไมกัน บอกลูกหลานให้สบายใจทุกคน บุญของกูกูทำไว้ใช้ไม่หมด แสนล้านโกฏิมันมากมายในกุศล เป็นสวรรค์ชั้นที่เจ็ดเกศกมล กูหลุดพ้นจากโลภหลงจึงตรงไป ถ้ารักกู คิดถึงกู ฟังกูบอก หนทางออกกูแนะนำจำไห่ได้ หนึ่งทำดีอย่าทำชั่วมั่วอบาย มึงจะได้ปะกูอยู่วิมาน จงขยันไห่ทานกันบ่อยๆ วันละเล็ก วันละน้อยได้ทั้งนั่น ขยันทำกันบ่อยๆค่อยเบิกบาน กูจิไปสร้างวิมานคอยพวกมึง สูอยากได้อะไรในภพหน่า ทั่งแก้วแหวนเงินตรามาทั่วถึง ถ่าอยากได้ต้องไห่ก่อนดอกเด่มึง คิดให้ซึ่งคำกูสอนอย่านอนใจ คิดถึงกู อยากเห็นกู มาหากู ต้องทำตามคำที่กูเคยบอกไว้ จงละชั่วมาทำดีซะไวไว สูรู้ไหมนรกมี สวรรค์มี ไห่รักกัน เมตตากัน สงสารกัน อย่าได้ฆ่าอย่าได้ฟันกันเป็นผี สนองบาปกัปกัลป์นานเต็มที เวลานี้มันเหลือน้อยอย่าถอยใจ จงเร่งทำความดีเดี๋ยวนี้เถิด จะได้เกิดพบปะกันอีกใหม่ หลวงพ่อจะคอยพวกสูอยู่ไม่ไกล อยากได้วิมานชั้นไหนบอกกูมา ให้พวกสูดูกูเป็นตัวอย่าง ตอนกูอยู่กูกะสร่างจนทั่วหล้า ใครมาขอกูกะไห่ใจเมตตา ไม่เห็นว่าเก็บเอาไว้ใช้พอแดง มีเพียงเหรียญบาทยัดใส่ปาก พอตายจากสัปเหร่อถือคอยยื้อแย่ง เห็นมีใครเอาไปได้สักใบแดง เป็นเรื่องการปรุงแต่งว่าเงินตรา ทำกุศลช่วยเหลือคนให้มีสุข เขาผ่อนคลายหายทุกข์ตามยถา จะเป็นพลังผลักดันตามกันมา จงเชื่อคำข้าจะสุขขีดีทุกคน ไม่ต้องร้องตามกูดอกกูบอกก่อน กูพักผ่อนอย่างสบายไม่สับสน ไม่ต้องห่วงกูดอกบอกทุกคน อย่ากังวลทางกูไปจะไม่ดี พากันทำดวงใจให้รื่นเริง จะจัดงานบันเทิงกะได้ให้เต็มที่ จะไปยุ่งยากอะไรกูไปดี บุญกูมีไอ้อย่างมากหลากประมาณ ทั้งตับไตไส่พุงดีมุ้งม้าม กูก็ทำบริจาคเป็นหลักฐาน ให้นักเรียนมันเรียนรู้อยู่ทั่วกัน เป็นประโยชน์มหาศาลการวิชา เอาความรู่จักร่างกูเป็นครูบอก กูไม่ห่วงมันดอกกองสังขาร์ ตายกะเผาเน่ากะฝังสังขารา อนิจจามันสูญเปล่าบ่าวหรือนาย ลูกหลานเอยฟังเฉลยของกูแล้ว จงตั้งใจไห่แน่แน่วอย่าแหนงหน่าย จะไปร้องพิไรร่ำทำอะไร กูไปสบายไร้ทุกข์แล้วลูกหลายเอ้ย...." คุณูปการคุณงามความดีของพระเดชพระคุณพระเทพวิทยาคม (หลวงปู่คูณ ปริสุทโธ) อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๑ อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านไร่ ต.กุดพิมาน อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา จะอยู่ในใจคนโคราชและคนไทยจนชั่วลูกชั่วหลาน ทานบารมี สละได้ทุกอย่างแม้กระทั่งสังขารร่างกาย ทุกคำสอน ทุกการกระทำ เป็นแบบอย่างให้อนุชนคนรุ่นหลังได้น้อมนำมาประพฤติปฏิบัติ น้อมกราบส่งหลวงปู่สู่แดนนิพ

  ไม่ต้องห่วงกูดอกกูบอกแล้ว เมืองแก้วเป็นบ้านอยู่กูสุขสันต์ สูจินำร้องไห่ทำไมกัน บอกลูกหลานให้สบายใจทุกคน บุญของกูกูทำไว้ใช้ไม่หมด แสนล้านโกฏิมันมากมายในกุศล เป็นสวรรค์ชั้นที่เจ็ดเกศกมล กูหลุดพ้นจากโลภหลงจึงตรงไป ถ้ารักกู คิดถึงกู ฟังกูบอก หนทางออกกูแนะนำจำไห่ได้ หนึ่งทำดีอย่าทำชั่วมั่วอบาย มึงจะได้ปะกูอยู่วิมาน จงขยันไห่ทานกันบ่อยๆ วันละเล็ก วันละน้อยได้ทั้งนั่น ขยันทำกันบ่อยๆค่อยเบิกบาน กูจิไปสร้างวิมานคอยพวกมึง สูอยากได้อะไรในภพหน่า ทั่งแก้วแหวนเงินตรามาทั่วถึง ถ่าอยากได้ต้องไห่ก่อนดอกเด่มึง คิดให้ซึ่งคำกูสอนอย่านอนใจ คิดถึงกู อยากเห็นกู มาหากู ต้องทำตามคำที่กูเคยบอกไว้ จงละชั่วมาทำดีซะไวไว สูรู้ไหมนรกมี สวรรค์มี ไห่รักกัน เมตตากัน สงสารกัน อย่าได้ฆ่าอย่าได้ฟันกันเป็นผี สนองบาปกัปกัลป์นานเต็มที เวลานี้มันเหลือน้อยอย่าถอยใจ จงเร่งทำความดีเดี๋ยวนี้เถิด จะได้เกิดพบปะกันอีกใหม่ หลวงพ่อจะคอยพวกสูอยู่ไม่ไกล อยากได้วิมานชั้นไหนบอกกูมา ให้พวกสูดูกูเป็นตัวอย่าง ตอนกูอยู่กูกะสร่างจนทั่วหล้า ใครมาขอกูกะไห่ใจเมตตา ไม่เห็นว่าเก็บเอาไว้ใช้พอแดง มีเพียงเหรียญบาทยัดใส่ปาก พอตายจากสัปเหร่อถือคอย...

ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ท้อถอย - จิตตะ คือ ความคิด ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป - วิมังสา คือ ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น สังคหวัตถุ ๔ คือ ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันกัน (แบ่งปันไปมา) - ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน จริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เหมาะกับกาลเทศะ พูดดีต่อกัน (พูดจาจับใจ) - อัตถจริยา คือ ช่วยเหลือกัน (ช่วยกิจกันไป) - สมานัตตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวให้เหมาะสม วางตัวดีต่อกัน (นิสัยเป็นกันเอง) พรหมวิหาร ๔ หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรมประจำใจเพื่อให้ตนดำรงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เฉกเช่นพรหม เป็นแนวธรรมปฏิบัติของผู้ที่ปกครอง และการอยู่ร่วมกับผู้อื่น - เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า - กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสัตว์ - มุทิตา คือ ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป - อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน

 ธรร มะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข...

ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ท้อถอย - จิตตะ คือ ความคิด ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป - วิมังสา คือ ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น สังคหวัตถุ ๔ คือ ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันกัน (แบ่งปันไปมา) - ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน จริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เหมาะกับกาลเทศะ พูดดีต่อกัน (พูดจาจับใจ) - อัตถจริยา คือ ช่วยเหลือกัน (ช่วยกิจกันไป) - สมานัตตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวให้เหมาะสม วางตัวดีต่อกัน (นิสัยเป็นกันเอง) พรหมวิหาร ๔ หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรมประจำใจเพื่อให้ตนดำรงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เฉกเช่นพรหม เป็นแนวธรรมปฏิบัติของผู้ที่ปกครอง และการอยู่ร่วมกับผู้อื่น - เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า - กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสัตว์ - มุทิตา คือ ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป - อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน

 ธรร มะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข...

ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ท้อถอย - จิตตะ คือ ความคิด ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป - วิมังสา คือ ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น สังคหวัตถุ ๔ คือ ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันกัน (แบ่งปันไปมา) - ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน จริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เหมาะกับกาลเทศะ พูดดีต่อกัน (พูดจาจับใจ) - อัตถจริยา คือ ช่วยเหลือกัน (ช่วยกิจกันไป) - สมานัตตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวให้เหมาะสม วางตัวดีต่อกัน (นิสัยเป็นกันเอง) พรหมวิหาร ๔ หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรมประจำใจเพื่อให้ตนดำรงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เฉกเช่นพรหม เป็นแนวธรรมปฏิบัติของผู้ที่ปกครอง และการอยู่ร่วมกับผู้อื่น - เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า - กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสัตว์ - มุทิตา คือ ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป - อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน

  ธรร มะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ ธรรมะที่ฉันชื่นชอบ คือ ฆราวาสธรรม ๔ "ฆราวาส" แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตในทางโลก, ผู้ครองเรือน และ "ธรรม" แปลว่า ความถูกต้อง, ความดีงาม, นิสัยที่ดีงาม, คุณสมบัติ, ข้อปฏิบัติ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน หรือ คุณสมบัติของผู้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิตทางโลก - สัจจะ คือ จริง ตรง แท้ - ทมะ คือ ฝึกตน ข่มจิต รักษาใจ บังคับตนเองในทางที่ถูกต้อง - ขันติ คือ อดทนอดกลั้น อดทนอดกลั้นต่อการบีบบังคับของกิเลส - จาคะ คือ เสียสละ อิทธิบาท ๔ คือ ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย - ฉันทะ คือ ความพอใจ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป - วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแ...